Now showing items 405-424 of 5344

    • กระบวนทัศน์อิสลามเพื่อการพัฒนา 

      ซาการียา บิณยูซูฟ; คอยรูซามัน มะ; อับดุลเลาะห์ สารีมิง; อับดุลรอเซะ กาเดร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2550)
      ส่วนหนึ่งของปัญหาในจังหวัดสามชายแดนภาคใต้นั่นคือ ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ชุดบทเรียนเล่มนี้เป็นคำตอบของความรู้ส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหา โดยใช้หลักคิด การพัฒนาโดยเอาวัฒนธรรมเป็นตัวตั้ง และกระบวนทัศน์อิสลามเพื่อการพัฒนา ...
    • กระบวนทัศน์เกี่ยวกับสุขภาพและภูมิปัญญาพื้นบ้านเกี่ยวกับสุขภาพ : มุมมองจากทฤษฎีสังคม 

      ฉลาดชาย รมิตานนท์; Chalatchai Ramitanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      หนังสือเล่มนี้เป็นการรวบรวมและเรียบเรียงแนวความคิดทางทฤษฎีสังคมศาสตร์ที่อาจสามารถนำมาใช้เพื่อศึกษาทำความเข้าใจมิติทางด้านสุขภาพอนามัยของสังคมไทย โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการชี้ประเด็นเบื้องต้นบางประการที่อาจนำมาใช้ศึกษา ...
    • กระบวนทัศน์เรื่องความตายและมิติแห่งสุขภาวะ 

      ธนา นิลชัยโกวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08)
    • กลยุทธ์การกำหนดและควบคุมราคายา : ก่อนขาย (หลังขึ้นทะเบียนยา) เมื่อคัดเลือกเข้าบัญชียาแห่งชาติ และโดยผู้จ่ายค่ายารายใหญ่ 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-02-27)
      วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบกลยุทธ์การกำหนดและควบคุมราคายาแบบต่างๆ ที่ต่างประเทศใช้ในระหว่างการขึ้นทะเบียน (ก่อนยาออกจาหน่าย), เมื่อคัดเลือกเข้าบัญชียาแห่งชาติ, และโดยผู้จ่ายค่ายารายใหญ่ 2. ใช้กรณีศึกษาวิเ ...
    • กลยุทธ์การผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 

      ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์; Tippawan Lorsuwannarat; สันติชัย อินทรอ่อน; สุขยืน เทพทอง; Suntichai Inthornon; Sookyuen Tepthong (คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2547)
      รายงานฉบับนี้เป็นการนำเสนอผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกลยุทธ์การผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ โดยนำแนวความคิดของการจัดการเชิงกลยุทธ์และเทคนิค TOWS Martix มาใช้ในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาได้เสนอกลยุทธ์ 4 ทางเลือก คือ ...
    • กลยุทธ์พัฒนางานวิจัยจากงานประจำโรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่ 

      ไพโรจน์ บุญลักษณ์ศิริ (โรงพยาบาลหาดใหญ่, 2552-12-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเรื่อง “เคล็ดลับสำหรับคุณอำนวย R2R” ครั้งที่ 1/2552 โครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยระดับประเทศ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) วันที่ 12-13 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ณ ห้องปิติมหาการุญ 2000 ...
    • กลยุทธ์ส่งเสริมงานวิจัยจากงานประจำในบริบทสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      วรรณพร บุญเรือง; Wannaporn Boonrueng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      แนวคิดของแผนงานวิจัยจากงานประจำ เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2550 โดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้บรรจุแผนงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยในรูปแบบ วิจัยจากงานประจำ หรือ Routine to Research (R2R) โดยมีพันธกิจหลัก คือ สร้างเครือข่ายการจัด ...
    • กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม : การพัฒนาและประโยชน์ในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การพัฒนากลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมในประเทศไทย เริ่มอย่างเป็นระบบในปี 2536 เมื่อประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถปี 2535 โดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข เพื่อเป็นทางเลือกของวิธีการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล ...
    • กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมของผู้ที่สังคมต้องช่วยเหลือเกื้อกูล การพัฒนาและการนำไปใช้ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การวินิจฉัยโรคร่วมของผู้ที่สังคมต้องช่วยเหลือเกื้อกูลการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในมีความสลับซับซ้อนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง ในสหรัฐอเมริกา สวัสดิการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุประสบปัญหาค่าใช้จ่ายสูงเพราะวิธีการคุ้มครองค่ารักษาพยาบ ...
    • กลุ่มเปราะบาง (Vulnerable Groups) คือใคร มีข้อพิจารณาด้านจริยธรรมอย่างไร 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-01-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ...
      Tags:
      Top hit
    • กลุ่มเปราะบางกับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; ปกรณ์ สิงห์สุริยา; Pagorn Singsuriya; ปิยณัฐ ประถมวงษ์; Piyanat Prathomwong; ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua; สายสุดา วงษ์จินดา; Saisuda Vongjinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      งานเสวนาออนไลน์ “กลุ่มเปราะบาง” กับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด ซึ่งเป็นที่มาของเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ และเป็นส่วนหนึ่งของแผนดำเนินงานวิจัยภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้ง (Research ...
    • กลไก นโยบาย และบทบาทของส่วนต่างๆ ในสังคม เกี่ยวกับการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; Somsak Chunharas; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; Pintusorn Hempisut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544-01)
    • กลไกกลางสารสนเทศทางการเงินการคลัง 

      อุทุมพร วงษ์ศิลป์; ไอลดา สุขนาค; ดิชพงศ์ พงศ์ภัทรชัย; ถาวร สกุลพาณิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • กลไกการกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ในประเทศไทย: สภาพการณ์ ปัญหา และข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป 

      ปกป้อง จันวิทย์; Pokpong Junvith; ตะวัน มานะกุล; Tawan Manakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      โครงการวิจัยนี้มุ่งแสวงหาคำตอบว่า ‘แพทยสภา’ ในฐานะกลไกการกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์ที่เป็นทางการของไทย สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีธรรมาภิบาล มีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล สมดังเจตนารมณ์ในการกำกับควบคุมการประกอบวิชาชีพเ ...
    • กลไกการจ่ายเฉพาะสำหรับบริการการดูแลระยะกลาง 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย “หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การดูแลสุขภาพแบบมุ่งเน้นคุณค่า” (Universal Health Coverage: Value Based Healthcare) ในวันที่ 11 ธันวาคม 2561 ณ ...
    • กลไกการทำงานของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ signal transduction และพยาธิสภาพของการติดเชื้อไวรัสเดงกี่ 

      กอบพร บุญนาค; Kobporn Boonnak; สง่า พัฒนากิจสกุล; Sa-nga Pattanakitsakul; อรภัค เรี่ยมทอง; Onrapak Reamtong; อรุณรุ่ง สุทธิเทพธำรง; Aroonroong Suttitheptumrong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      Antibody-dependent enhancement (ADE) เป็นปรากฏการณ์หนึ่งที่สำคัญในการเกิดโรคไข้เลือดออก ที่มีการติดเชื้อไวรัสซ้ำครั้งที่ 2 เซลล์โมโนไซต์เป็นเป้าหมายของการติดเชื้อไวรัสในขบวนการ ADE การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาโปรตี ...
    • กลไกการบริหารระบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุไทย 

      ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; Thipaporn Portawin; นุชนารถ ยูฮันเงาะ; Natchanat Yahan-ngow (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      รายงานการวิจัยเรื่อง “กลไกการบริหารระบบสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุไทย” เป็นส่วนหนึ่ง ในชุดโครงการวิจัยเพื่อการพัฒนานโยบายผู้สูงอายุไทย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) วิเคราะห์สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการ บ ...
    • กลไกการประมวลสถานการณ์และการสนับสนุนงานวิชาการนโยบายและระบบสุขภาพ: กรณีการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; วิมลรัตน์ ถนอมศรีเดชชัย; Wimonrat Tanomsridachchai; ธนินทร์ พัฒนศิริ; Thanin Pattanasiri; ศักดิธัช อิทธิพิสิฐ; Sakditat Ittiphisit; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      โครงการนี้มีจุดประสงค์ที่จะพัฒนารูปแบบหรือกลไกการสนับสนุนทางวิชาการ สำหรับการตัดสินใจประเด็นเชิงนโยบายที่มีความซับซ้อนมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่ายในระยะเวลาที่จำกัด โดยในโครงการนี้จะใช้ประเด็นการถ่ายโอนภารกิจสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ...
      Tags: