Now showing items 4048-4067 of 5487

    • มองมุมใหม่ จัดการใหม่ ในระบบสุขภาพชุมชน 

      สุมาลี ประทุมนันท์; อารดา สุคนธสิทธิ์; นคร รัตนพฤกษ์ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2554-10)
      รวบรวมแนวคิดและประสบการณ์ตรงของบุคคล องค์กร ในการใช้แนวคิดใหม่ๆ มุมมองใหม่ๆ ในการพัฒนางานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มีจุดมุ่งหมายเพื่อสะท้อนให้เห็นว่า ภายใต้การจัดการแบบใหม่ ผลลัพธ์อันน่ามหัศจรรย์เกิดขึ้นได้เสมอ
    • มองไกล วิจัยสุขภาพ 

      อินทิรา ยมาภัย; ศิตาพร ยังคง; สุธาสินี คำหลวง; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; ชุติมา คำดี; ทรงยศ พิลาสันต์; คณาภรณ์ ธนูธรรมเจริญ; ธนพร บุษบาวไล; สรัญญา ใจกล้า; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2557-09)
      ระบบสุขภาพเป็นกลไกในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ รวมถึงแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม ความรู้ที่ได้จากการวิจัยสามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบสุขภาพได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยด้านสุขภาพของประเทศไทยมักจะดำ ...
    • มะเร็งเซลล์บุผิวเยื่อหุ้มปอด การวินิจฉัยทางพยาธิวิทยาที่แม่นยำ 

      สัญญา สุขพณิชนันท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ในบทความนี้ ผู้นิพนธ์เสนอชื่อ มะเร็งเซลล์บุผิวเยื่อหุ้มปอด ตามศัพท์ malignant pleural mesothelioma.อนึ่งชื่อ mesothelioma ที่นิยมเรียกกันนั้นฟังดูคล้ายโรคเนื้องอกธรรมดา แต่องค์การอนามัยโลกจัดเนื้องอกชนิดนี้เป็นมะเร็ง ...
    • มะเร็งและมลพิษจากอุตสาหกรรม : ผลวินิจฉัยการตรวจสอบคนงาน กรณีวิกฤตมะเร็งเม็ดเลือดขาวและโรคมะเร็งบริเวณ Wollongong 

      จิตสิริ ธนภัทร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-07)
      การตรวจสอบคนงานกรณีวิกฤตมะเร็งเม็ดเลือดขาวและโรคมะเร็งบริเวณ Wollongong จัดขึ้นที่ Port Kembla ช่วงสุดสัปดาห์ระหว่างวันที่ 19-20 กรกฎาคม ค.ศ.1997 คณะกรรมการตรวจสอบ 6 คน ได้สรุปว่า 1. การเสียชีวิตจำนวนมากเนื่องจากมะเร็งเม็ดเลือดขาว ...
    • มาตรการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล ในโรงพยาบาลรัฐและเอกชน ในประเทศไทย 

      ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; นิธิมา สุ่มประดิษฐ์; Nithima Sumpradit; เสาวลักษณ์ ฮุนนางกูร; Saowalak Hunnangkul; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      สถานการณ์เชื้อแบคทีเรียดื้อยามีแนวโน้มสูงขึ้นในโรงพยาบาล การมีมาตรการควบคุมโรคติดเชื้อ (Hospital Infection Control; IC) และการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antimicrobial Stewardship Programs; ASP) จึงมีความสำคัญ ...
    • มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้เสพสารหรือผู้ติดสารเสพติด 

      ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ (โครงการจัดการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติด, 2551-10)
      การวิจัยเชิงเอกสารนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนองค์ความรู้มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้เสพสารหรือผู้ติดสารเสพติด ผลการศึกษา พบว่า สารเสพติดแต่ละประเภทมีอันตรายและความจำเป็นในทางการแพทย์ต่างกัน พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ...
    • มาตรการทางกฎหมายเพื่อถนนปลอดภัย : เอกสารทบทวนความรู้ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      มาตรการทางกฎหมายเพื่อถนนปลอดภัย กฎหมายเป็นเครื่องมือที่สำคัญต่อการป้องกันอุบัติเหตุทางรถยนต์ ด้วยการควบคุมพฤติกรรมผู้ใช้ถนนและการจัดสรรทรัพยากรของรัฐเพื่อการดำเนินกิจกรรม กฏหมายนอกจากใช้ควบคุมพฤติกรรมผู้ใช้ยานพาหนะแล้วยั ...
    • มาตรการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลภาครัฐ: การทบทวนและวิเคราะห์กลไกเชิงนโยบายระดับชาติ 

      จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; หนึ่งฤทัย สุกใส; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พิมประภา กิจวิธี; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; เชิดชัย สุนทรภาส; ธนภร ชัยจิต; พรพิศ ศิลขวุธท์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; Nungrutai Sooksai; Acharawan Topark-ngarm; On-anong Waleekhachonloet; Pimprapa Kitwiti; Thananan Rattanachotphanit; Cherdchai Soontornpas; Thanaporn Chaijit; Pornpit Silkavut; Samrit Srithamrongsawat; Supon Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติที่มีราคาแพงเป็นสาเหตุของการเติบโตอย่างรวดเร็วของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพโดยเฉพาะระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ การศึกษานี้ทบทวนกลไกระดับชาติในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในภาครัฐที่เคยมี ...
    • มาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผลในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการของโรงพยาบาล 34 แห่ง สำหรับยา 9 กลุ่มที่มีค่าใช้จ่ายสูง 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; Acharawan Topark-ngarm; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาในระบบจ่ายตรงของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ มีแนวโน้มเพิ่มสูงมาก การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจมาตรการส่งเสริมและกำกับการใช้ยาสมเหตุผล และการควบคุมค่าใช้จ่ายที่มีการดำเนินการในโรงพยาบาล 34 แห่งสำหรับยา ...
    • มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากแอลกอฮอล์ : รายงานการทบทวนองค์ความรู้ 

      สาวิตรี อัษณางค์กรชัย; Sawitree Ausanangkornchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากแอลกอฮอล์ การป้องกันและรักษา ปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ การป้องกันขั้นปฐมภูมิ (Primary prevention) เน้นที่ประชาชนทั่วไปซึ่งมีทั้งผู้ที่ไม่ดื่มสุรา ผู้ที่ดื่มแบบมีความเสี่ยง และผู้ที่ติดสุรา ...
    • มาตรฐาน LOINC กับระบบข้อมูลสุขภาพของไทย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-02)
      ประเทศไทยยังไม่มีรหัสมาตรฐานด้านการตรวจทางคลินิกซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ข้อมูลทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางคลินิก (Laboratory Information) ของหน่วยงานต่างๆ ไม่สามารถทำงานร่วมกันได้ การมีรหัสมาตร ...
    • มาตรฐานการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด 

      อัญมณี บูรณกานนท์; ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; สิริพรรณ ศรีมีชัย (โครงการปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนกระบวนการการพัฒนาศักยภาพการทำงานของนักสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด, 2553-03)
      ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ ลักษณะของปัญหามีความเกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ยิ่งปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายอย่างที่มีผลกระทบต่อสถานการณ์ยาเสพติดของประเทศ โดยมีความรุนแรงที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ...
    • มาตรฐานคุณลักษณะและคุณภาพของเคมีภัณฑ์ซึ่งเป็นตัวยาสำคัญที่ควรกำหนดเพื่อการควบคุม เล่ม 1-2 

      สุทธาทิพย์ จันทรสกุล; Suthathip Chintrsakul; สุวรรณา เหลืองชลธาร; สมเกียรติ รุจิรวัฒน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      งานวิจัยนี้ได้สร้าง “มาตรฐานคุณลักษณะและคุณภาพของเคมีภัณฑ์ซึ่งเป็นตัวยาสำคัญที่ควรกำหนดเพื่อการควบคุม” ขึ้นจำนวน 223 ฉบับ โดยแต่ละฉบับประกอบด้วยเนื้อหาสาระเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่หนึ่งเป็นข้อกำหนดคุณลักษณะของวัตถุดิบทางยา ...
    • มาตรฐานบริการสุขภาพปฐมภูมิและความพร้อมให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ประสงค์ถ่ายโอนไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      ดาราวรรณ รองเมือง; Daravan Rongmuang; อินทิรา สุขรุ่งเรือง; Intira Sukrungreung; จีราพร ทองดี; Jeraporn Thongdee; ลลิตา เดชาวุธ; Lalita Dechavoot; กฤษณี สุวรรณรัตน์; Kritsanee Suwannarat; อติญาณ์ ศรเกษตริน; Atiya Sarakshetrin; ภัทร์พงศ์ อุดมพัฒน์; Patpong Udompat; จิรชาติ เรืองวัชรินทร์; Jirachart Reungwatcharin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล: พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจด้านสาธารณสุขให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามาต ...
    • มาตรฐานโรงพยาบาล : แนวทางพัฒนาคุณภาพโดยมุ่งผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; สถาบันวิชาการเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
    • มาทำวิจัย ในงาน R2R Coaching 

      สุพัฒน์ สมจิตรสกุล (โรงพยาบาลนาหว้า จ.นครพนม, 2555-07-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • มิติทางสังคมของพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัย การศึกษาเชิงคุณภาพกับหญิงบริการอาชีพพิเศษ กรณีศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ 

      เพ็ญจันทร์ ประดับมุข (2537)
      นอกจากองค์ความรู้ด้านชีวการแพทย์แล้ว ความรู้ด้านสังคมศาสตร์นับว่ามีความสำคัญไม่น้อยในการแก้ปัญหาสาธารณสุข เพราะปัญหาสาธารณสุขมีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องพฤติกรรมนุษย์อย่างแยกกันไม่ได้เลย การวิจัยนี้จึงเป็นแง่มุมหนึ่งทางด้าน ...
    • มิติทางสังคมและวัฒนธรรมของการใช้ยาในชุมชน : การพัฒนาองค์ความรู้จากทฤษฎีและการวิจัย 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      มิติทางสังคมวัฒนธรรมของการใช้ยาในชุมชน: การพัฒนาองค์ความรู้จากทฤษฎีและการวิจัยการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์หลัก 3 ประการ คือ 1) การทบทวนความรู้เกี่ยวกับแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับการใช้ยารักษาตนเองของประชาชน 2) การวิเคราะ ...
    • มิติสุขภาพ : กระบวนทัศน์ใหม่เพื่อสร้างสังคมแห่งสุขภาวะ 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; นงลักษณ์ ตรงศีลสัตย์; พจน์ กริชไกรวรรณ; Komatra Chuengsatiansup; Pon Krikaiwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      หนังสือเล่มนี้เป็นผลลัพธ์ของการประชุมระดมความคิดในเวทีสัมมนาเรื่อง การปรับกระบวนทัศน์ทางการแพทย์และสุขภาพของสังคมไทย ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 22-24 สิงหาคม 2544 โดยมีนักวิชาการมาร่วมทบทวนกระบวนทัศน์และวิธีคิดของสังคมเกี่ ...
    • มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ปรากฏการณ์ที่โรคโควิด 19 สามารถเป็นได้กันทุกคนทั่วโลกเพราะไม่มีใครมีภูมิคุ้มกันมาก่อน ใครสัมผัสก่อน คนนั้นเป็นก่อน จนกระทั่งเป็นกันเกือบทุกคน โรคจึงสงบได้ มิติทางเวลา เช่น ใครติดโรคก่อนหรือเป็นทีหลัง ก็อาจทำให้ผลลัพธ์การ ...