Now showing items 4793-4812 of 5341

    • หลักการวิจัยเชิงคุณภาพ (Principles of Qualitative Research) 

      ทวีศักดิ์ นพเกษร (คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จ.พิษณุโลก, 2555-07-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • หลักการเงินและการคลังสำหรับเขตสุขภาพ 

      รพีสุภา หวังเจริญรุ่ง; Rapeesupa Wangcharoenrung (คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556-12-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนานักวิจัยในเขตสุขภาพ รุ่นที่ 1 วันที่ 23-27 ธันวาคม 2556 ณ ห้องประชุมสานใจ 1 ชั้น 6 อาคารสุขภาพแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
    • หลักการและการประยุกต์ใช้คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล (2539)
      คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพที่ประชาชนในประเทศต่างๆ ต้องเผชิญอาจมีลักษณะเหมือนกัน แต่คุณค่าของคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกลับแตกต่างกันไปได้ ซึ่งสืบเนื่องจากการให้คุณค่าของสังคมและประชาชนที่แตกต่างกันไป แต่ละประเทศจึงอาจดำเนินนโยบายส ...
    • หลักฐานเชิงประจักษ์ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชนประเทศไทย: การทบทวนวรรณกรรมแบบบูรณาการและการใช้เทคนิคเดลฟาย 

      ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร; Pinhatai Supametaporn; ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; ศศิมาภรณ์ แหยงกระโทก; Sasimaporn Yaengkratok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      บทนำ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นสาเหตุการป่วยและการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลกและประเทศไทย ความร่วมมือในการรักษาด้วยยามีความจำเป็นต่อการรักษาและควบคุมโรค พบว่า ผู้ป่วยเกินครึ่งไม่สามารถใช้ยาตามแผนการรักษาได้ ส่งผลกระทบต่ ...
    • หลักประกันทางด้านสุขภาพกับระบบบริการสาธารณสุขในอนาคต 

      สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ (2538)
      บทความนี้วิเคราะห์ให้เห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างหลากหลายในโครงการต่างๆ ของระบบบริการสาธารณสุขในประเทศไทย รวมทั้งได้เสนอแนวทางในการพัฒนาและทางเลือกสำหรับหลักประกันทางด้านสุขภาพในอนาคตของประเทศไทย เพื่อให้สอดรับกับแนวโน้ม ...
    • หลักประกันสุขภาพ 10 ปีต่อไปควรเป็นอย่างไร 

      สมชัย นิจพานิช (กระทรวงสาธารณสุข, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • หลักประกันสุขภาพกับการใช้บริการสุขภาพช่องปากในวัยทำงาน 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      การวิจัยเชิงพรรณนานี้ต้องการศึกษาสถานการณ์และรูปแบบการใช้บริการสุขภาพช่องปากของวัยทำงาน (15-59 ปี) ตามกลุ่มสิทธิประกันสุขภาพภาครัฐต่างๆ ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพตามความจำเป็น ใช้ข้อมูลจากการสำรวจ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ความยั่งยืนทางการเงินการคลัง 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ความยั่งยืนทางการเงินการคลัง เนื้อหาประกอบด้วย 1) สถานการณ์รายจ่ายสุขภาพภาครัฐและครัวเรือนปี พ.ศ. 2537-2564 2) ความท้าทายจากรายจ่ายสุขภาพของภาครัฐที่เพิ่มสูงขึ้ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : เงินทองเป็นของนอกกายจริงหรือ 

      สุภัค ปิติภากร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547-02)
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : เงินทองเป็นของนอกกายจริงหรือ 

      พิชัย ดิฐสถาพรเจริญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547-02)
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : เงินทองเป็นของนอกกายจริงหรือ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547-02)
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมบริการด้านสุขภาพที่จำเป็น 2) การล้มละลายทางการเงินด้านสุขภาพ และ 3) ผลลัพธ์ของการบรรลุหลักประกันสุขภา ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2545-2546 : รายงานวิจัยเล่มที่1 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศรชัย เตรียมวรกุล; ศศิวุทฒิ์ วงศ์มณฑา; Anchana Na Ranong; Sonchai Tiarmworakul; Sasiwut Vongmontha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระหว่างปี 2544-2547 ซึ่งเป็นการสรุปการดำเนินงานของโครงการที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันสุขภาพของภาครัฐที่สำคัญ 4 โครงการคือ โครงการสวัสดิการข้ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อคนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทย 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; Supat Hasuwannakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      คนชายขอบผู้ไม่มีสัญชาติไทยประกอบด้วยคนไร้รัฐ แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองและผู้ลี้ภัย รวมประมาณห้าแสนคนซึ่งยังไม่มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ส่งผลต่อสถานะสุขภาพของคนชายขอบ มีการเข้าถึงบริการน้อยกว่าคนสัญชาติไทย 6 เท่า ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น : ความเป็นไปได้ของการบรรลุความครอบคลุมถ้วนหน้า 

      วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การสร้างหลักประกันสุขภาพทั่วหน้ากับการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข การทบทวนองค์ความรู้นี้ เป็นการตรวจสอบองค์ความรู้เชิงทฤษฎีและประสบการณ์ของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ...
    • หลักประกันสุขภาพแบบสิงคโปร์ 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2538)
      บทความนี้เป็นอีกบทความหนึ่งที่เสนอแนวทางการแก้ปัญหาระบบบริการสุขภาพในประเทศไทยโดยชี้ให้เห็นถึงแนวคิดและรูปแบบการดำเนินงานด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศสิงคโปร์ ซึ่งมีมุมมองในการแก้ปัญหาอีกรูปแบบหนึ่งและรูปแบบดังกล่าวอาจจะ ...
    • หลักประกันสุขภาพในสายตาประชาชน 

      สำนักวิจัยเอแบค-เคเอสซีอินเตอร์เนตโพลล์(เอแบคโพลล์) มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ; ABAC-KSC Internet Poll(ABAC POLL) Assumption University (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      หลักประกันสุขภาพในสายตาประชาชนการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์สำรวจรูปแบบหลักประกันสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วประเทศเพื่อสำรวจความเห็น ความเข้าใจและความคาดหวังของกลุ่มตัวอย่างประชาชนต่อนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อส ...
    • หลักสูตรการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีเมืองและการขนส่ง 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ปัญหาเรื่องเมืองและการขนส่ง ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับประชาชนจำนวนมาก ทั้งในเรื่องที่เกี่ยวกับไม่มีนโยบายการควบคุมรถยนต์ ไม่มีการวางผังเมือง สร้างก่อนแล้วจึงมาวางผังเมือง และถนน ส่งผลกระทบต่อการจราจร ความหนาแน่นและ ...
    • หลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวินิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; สกนธ์ สุภากุล; Sakon Supakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวินิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานสุขภาพจิตมีความรู้ ทักษะ และสามารถดูแล ...