Now showing items 1-6 of 6

    • การวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบการบริหารจัดการงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค : บัญชีรายจ่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ประเทศไทย พ.ศ. 2549-2552 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; สุวารี เตียงพิทักษ์; กัญจนา ติษยาธิคม; ภาสกร สวนเรือง; จิตปราณี วาศวิท; ทวีศรี กรีทอง; รังสิมา ปรีชาชาติ; พัชนี ธรรมวันนา; ชาฮีดา วิริยาทร (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2553-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพเพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคของประเทศไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนและกำกับติดตามการดำเนินงานด้านนี้ และมีวัตถุประสงค์เฉพาะคือ 1. เพื่อศึกษาแนวโน้มสถานก ...
    • การศึกษาสถานะการขึ้นทะเบียนยาสามัญใหม่และศักยภาพในการลดค่าใช้จ่ายด้านยาหลังจากได้รับการอนุมัติการศึกษาชีวสมมูลโดยสำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; พิสภาสินี พิศาลสินธุ์; Pispasinee Pisansin; ศลิษา ฤทธิมโนมัย; Salisa Rittimanomai; วริษฐา หวังบรรจงกุล; Waritta Wangbanjongkun; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12-19)
      การศึกษาชีวสมมูล (Bioequivalence Studies) ในมนุษย์เป็นการทดสอบความเท่าเทียมกันระหว่าง ยาสามัญและยาอ้างอิงในด้านอัตราและปริมาณของ Active Pharmaceutical Ingredient (API) ในบริเวณที่ต้องการให้เกิดฤทธิ์ของยา การศึกษาเช่นนี้ท ...
    • การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ...
    • ความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (Unmet health need) กรณีผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในและบริการทันตกรรม ในประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; ศศิรัตน์ ลัพธิกุลธรรม; Sasirat Lapthikultham; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ภายใต้ระบบประกันสุขภาพภาครัฐสามระบบหลัก ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นได้มากขึ้น โดยไม่ต้องกังวลเรื่องภาระค่าใช้จ่ายสำหรับการรักษาพยาบาล ...
    • ประโยชน์ของข้อมูลการสำรวจครัวเรือนเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; ชนิกานต์ เนตรภักดี; Chanikarn Netrpukdee; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; จินตนา จันทร์โคตรแก้ว; Jintana Jankhotkaew; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; นิศาชล เศรษฐไกรกุล; Nisachol Cetthakrikul; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำรวจสถิติครัวเรือนที่จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) อย่างต่อเนื่องในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เพื่ออ้างอิงในกระบวนการกำหนดนโยบายสุขภาพจนบรรลุผลหลายประเด็น ...
    • อุทกภัยในกรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554: ความท้าทายต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทย นับเป็นความท้าทายที่สำคัญต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพไทยในการรับมือกับภาวะวิกฤติในครั้งนั้น การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาว่าระบบสา ...