Now showing items 1-4 of 4

    • การปฏิรูปความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ของประเทศไทย 

      วินิต อัศวกิจวิรี; Vinit Usavakidviree; ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha-oncin Sooksriwong; ฟ้าใส จันท์จารุภรณ์; Farsai Chanjaruporn; วราวุธ เสริมสินสิริ; Varavoot Sermsinsiri; คัคนางค์ โตสงวน; Kakanang Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-04)
      ประเทศไทยยังขาดระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพและต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศและมีแนวโน้มที่สูงขึ้น พึ่งพาตนเองได้น้อย ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูป ...
    • การศึกษารูปแบบระบบบริหารจัดการยาระดับประเทศและประเมินความเป็นไปได้ในการจัดให้มีรูปแบบใหม่ของระบบในประเทศไทย 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha-oncin Sooksriwong; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01-10)
      การจัดการในภาพรวมเพื่อให้เกิดเสถียรภาพและความมั่นคงของการมีเภสัชภัณฑ์ใช้ในประเทศ ภายในขอบเขตของงบประมาณที่ได้รับนั้น มีความสำคัญต่อการเข้าถึงเภสัชภัณฑ์จำเป็นอย่างเท่าเทียม การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบระบ ...
    • ความสอดคล้องของนโยบายเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมยาต่อการสร้างความมั่นคงทางยาในประเทศไทย 

      สุรศักดิ์ สุนทร; Surasak Soonthorn; ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha-oncin Sooksriwong; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-04)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความมั่นคงทางยา (Drug Security) ของประเทศไทย วิเคราะห์เชิงลึกตามกรอบแนวคิด SUPERB ซึ่งประกอบด้วย 1. Self-sufficient: การพึ่งพาตนเองและความสามารถในการผลิตภายในประเทศรวมทั้งมีเหลือเพื่อส่งออก ...
    • วิธีการกำหนดราคายาสำหรับการจ่ายเงินคืน 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; วรรณสุดา งามอรุณ; สัญชัย จันทร์โต; Cha-oncin Sooksriwong; Wansuda Ngam-Aroon; Sunchai Janto (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      มาตรการกำหนดราคาซึ่งมีประสิทธิภาพหลายวิธี ที่รัฐบาลไทยควรเลือกใช้เพื่อแก้ปัญหางบประมาณที่จ่ายในการคืนเงินค่ายา การวิจัยนี้ต้องการเปรียบเทียบมูลค่าการประหยัดงบประมาณของรัฐบาลเมื่อใช้มาตรการต่างๆในการกำหนดราคาคืนเงินค่ายา ...