Now showing items 1-20 of 182

    • Promotion of Brain Health and Happiness: Brain‐Mind‐behavior 

      นัยพินิจ คชภักดี; Naiphinich Kotchabhakdi (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-07-23)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่อง “การพัฒนายุทธศาสตร์งานวิจัยเกี่ยวกับสมอง จิตใจ และพฤติกรรม” (Development of Research Strategies for Brain Mind and Behaviour) จัดโดย สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...
    • UCS กับผลกระทบต่อระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 

      สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ (กรมอนามัย, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • UCS กับผลกระทบต่อระบบส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 

      สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ (กรมควบคุมโรค, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบทบาทองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพ 

      หทัยชนก สุมาลี; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; จิรบูรณ์ โตสงวน; Hathaichanok Sumalee; Siriwan Pitayarangsarit; Jiraboon Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      ในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพมีกฎหมายมาเกี่ยวข้องมากมายหลายฉบับ แม้แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ก็ยังได้บัญญัติให้รับรองสิทธิของบุคคลในการรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ รับรองสิทธิของบุคคลในการได้รับข ...
    • กระบวนการยุติธรรมสิ่งแวดล้อมสุขภาพบทเรียนจากคดีมาบตาพุด 

      คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)
      กรณีมาบตาพุดอาจกล่าวได้ว่า เป็นภาพสะท้อนการดำเนินนโยบายการพัฒนาประเทศที่ไม่ได้คำนึงถึงหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน แต่เป็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างเข้มข้นจนเลยขีดความสามารถที่สิ่งแวดล้อมจะเยียวยาและจัดการโดยตัวมันเองได้ ...
    • กระบวนการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะที่ 1 : วิเคราะห์สถานการณ์ 

      ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์; Thorngwut Doungratanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาสถานการณ์และการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบคุณภาพ ทั้งนี้พื้นที่เพื่อการศึกษาเป็นแบบการคัดเลือกเฉพาะ (purposive ...
    • กลยุทธ์การผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 

      ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์; Tippawan Lorsuwannarat; สันติชัย อินทรอ่อน; สุขยืน เทพทอง; Suntichai Inthornon; Sookyuen Tepthong (คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2547)
      รายงานฉบับนี้เป็นการนำเสนอผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกลยุทธ์การผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ โดยนำแนวความคิดของการจัดการเชิงกลยุทธ์และเทคนิค TOWS Martix มาใช้ในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาได้เสนอกลยุทธ์ 4 ทางเลือก คือ ...
    • การกระจายอำนาจด้านการส่งเสริมสุขภาพในประเทศเม็กซิโก สวีเดน และนิวซีแลนด์ 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      หลายประเทศได้เลือกใช้กฎบัตรอ๊อตตาวาเป็นแม่แบบในการพัฒนานโยบายการสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับทุกประเทศที่ศึกษานี้ได้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชน ประเทศเม็กซิโกกำหนดองค์ประกอบในการส่งเสริมสุขภาพสำหรับการประเมินการสร้า ...
    • การขยายผลการพัฒนาระบบสร้างเสริมความปลอดภัยรถรับส่งนักเรียนในเขตชนบท จังหวัดเชียงราย 

      งามนิตย์ ราชกิจ; Ngamnith Ratchakit; จรินทร์ อินทร์สุวรรณโณ; ชาญชัย กีฬาแปง; ชลลดา สายสืบ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย, 2547)
      การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายเครือข่ายการดำเนินงานสร้างเสริมความปลอดภัยในรถรับส่งนักเรียน ในเขตชนบทของจังหวัดเชียงราย พื้นที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเทิน อำเภอพาน ...
    • การคลังเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ 

      นวลอนันต์ ตันติเกตุ; Nuan-Anan Tantigate; กิตยา มั่งเรือน; จงกล เลิศเธียรดำรง; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การคลังเพื่อการส่งเสริมสุขภาพการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อแสดงภาพปริมาณรายจ่ายรวม รายจ่ายต่อหัวประชากรและรายจ่ายที่เป็นสัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product)ที่จ่ายในกิจกรรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ...
    • การคาดประมาณภาระโรคของประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2552 - 2572 

      โครงการภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย; สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2553-08)
      รายงานการคาดประมาณภาระโรคของประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2552-2572 แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 การสร้างแบบจำลอง และคาดการณ์การตายในประเทศไทย โดยใช้วิธี Multivariate multiple regression สำหรับการตายทุกสาเหตุ และการตายรายกลุ่มสาเหตุ ...
    • การจัดการความรู้และสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล:แนวทางการดูแลสุขภาพวัยรุ่น 

      อัมพร เบญจพลพิทักษ์; ลัดดา ดำริการเลิศ; อมรากุล อินโอชานนท์; อรวรรณ ดวงจันทร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-12)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ โดยเป็นแผนงานวิจัยหนึ่งที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง มีสถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) เป็นกลไกสำคัญ เมื่อรัฐบาลมีนโยบายในกา ...
    • การจัดการนโยบายสาธารณะและปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพของเทศบาลสามระดับในประเทศไทย 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ธีรพงษ์ คำพุฒ; Teerapong Khamput; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การจัดการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพเป็นการส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่ต้นน้ำ โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนเอื้อต่อการจัดการปัจจัยทางสังคม ด้วยการกำหนดรูปแบบการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชนในพื้นที่ การศึกษานี้มีว ...
    • การจัดการเครือข่ายผู้สูงอายุและผู้พิการ กรณีศึกษาเทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนาอำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ 

      อัจฉรา พุฒิมา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06-06)
      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการและปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงต่างๆ ในเครือข่ายผู้สูงอายุและผู้พิการของเทศบาลเมืองแกนพัฒนา และเพื่อสังเคราะห์บทเรียนที่ได้จากการจัดการเครือข่ายผู้สูงอายุและผู้พิการของเทศบางเมืองเ ...
    • การจัดตั้งองค์กรระดับชาติเพื่อการส่งเสริมสุขภาพในประเทศไทย 

      ประกิต วาทีสาธกกิจ; Prakit Vateesatokit; สุภกร บัวสาย; ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์; สุภาวดี ถิระพานิช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กแรกเกิด - 5 ปี และพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของเด็กภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ประคิณ สุจฉายา; Prakin Suchaxaya; ศรีมนา นิยมค้า; อมรรัตน์ งามสวย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ศึกษาการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคสำหรับเด็กแรกเกิด-5 ปี และพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพของเด็กภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ศึกษาโดยการใช้แบบวิจัยเชิงพรรณนา และการสัมภาษณ์เจาะลึก ...
    • การจัดบริการส่งเสริมสุขภาพผสมผสานระหว่างภาครัฐกับภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ อำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง 

      ชัยวัฒน์ จัตตุพร; Chaiwat Jattuporn; ประสงค์ ยมหา; Prasong Yomha; พิภพ เมืองศิริ; Pipob Muangsiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      รูปแบบใหม่ในการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเป็นการผสมผสานการทำงานระหว่างภาครัฐ กับ ภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1. การดำเนินงานการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ ...
    • การดูแลสุขภาพสำหรับผู้ถือศีลอดในเดือนรอมฎอน 

      มูหมัดดาโอ๊ะ เจะเลาะ; อีระฟาน หะยีอีแต; อนันตชัย ไทยประทาน; ยา สารี; นิลนาถ เจ๊ะยอ; ซอฟียะห์ นิมะ; ยูซูฟ นิมะ (สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2551-08)
      รวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของผู้ถือศีลอดในเดือนรอมฎอน
    • การติดตามประเมินผลนโยบายการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) 

      สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน; มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554)
      วัตถุประสงค์ของรายงานฉบับนี้เพื่อเสนอผลการติดตามนโยบายจากคำถามสำคัญว่า กลไกที่มีเพื่อการติดตามประเมินผลต่อการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ทำหน้าที่อะไร อย่างไร รวมทั้งส่งผลอะไรบ้างจากนโยบายการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุ ...
    • การทดสอบสมรรถภาพทางกายและสุขภาวะทางกายของผู้สูงอายุไทย 

      ศราวิน เทพสถิตย์ภรณ์; Sarawin Thepsatitporn; ปรัชญา แก้วแก่น; Pratchaya Kaewkaen; ปริญญา เรืองทิพย์; Parinya Ruengthip (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-04)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประเมินสุขภาวะทางกาย วิเคราะห์ความสัมพันธ์และจัดกลุ่มสมรรถภาพทางกายและหาดัชนีชี้วัดสมรรถภาพทางกายของผู้สูงอายุไทยทั่วประเทศ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุช่วยเหลือตัวเองได้ ...