Now showing items 1-10 of 10

    • การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทำ Managed Entry Agreement (MEA) 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha–oncin Sooksriwong; ปิยพัทธ์ โอวาท; Piyapat Owat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เมื่อยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ยังไม่สมบูรณ์ออกสู่ตลาด จะมีผลกระทบต่อผู้ซื้อบริการสุขภาพในฐานะที่เป็นผู้จ่ายเงินในระบบสุขภาพ การทำข้อตกลงในรูปแบบ managed entry agreement หรือ MEA ...
    • การพัฒนาทางเลือกเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเบิกจ่ายสำหรับมาตรการที่มีราคาแพงในระบบสุขภาพภาครัฐของประเทศไทย 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; Dabak, Saudamini Vishwanath; Faradiba, Dian; Butani, Dimple; Prakash, Annapoorna; Zayar, Nyi Nyi; กุมารี พัชนี; Kumaree Pachanee; บุสดี โสบุญ; Budsadee Soboon; พรณภัทร เฉิดฉินนภา; Phornnaphat Chertchinnapa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)
      วิทยาศาสตร์มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วเพื่อช่วยผู้คน แต่ส่งกระทบต่อความยั่งยืนของระบบสาธารณสุขเช่นกัน ปัจจุบันมีมาตรการด้านสุขภาพที่มีราคาแพง เช่น การคัดกรองยาราคาแพงและผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง (Advanced Therapy Medicinal ...
    • การพัฒนาระบบรายงานข้อมูลบริหารเวชภัณฑ์ของศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านเวชภัณฑ์ และการเชื่อมต่อกับโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วรนัดดา ศรีสุพรรณ; Voranadda Srisuphan; ไพรำ บุญญะฤทธิ์; Phairam Boonyarit; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-08)
      ความเป็นมา ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านเวชภัณฑ์เริ่มต้นการดำเนินงานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 ในชื่อ ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านยา กองโรงพยาบาลภูมิภาค ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศหลักการและมาตรการปฏิรูประบบบบริหารเวชภัณฑ์ ...
    • การพัฒนาแนวทางการพิจารณายาเพื่อการเบิกจ่ายในระบบประกันสุขภาพ: กรณีศึกษา SGLT2 inhibitors ในผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว 

      ภูขวัญ อรุณมานะกุล; Poukwan Arunmanakul; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล; Piyameth Dilokthornsakul; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; มันติวีร์ นิ่มวรพันธุ์; Mantiwee Nimworapan; ศักดิ์กรินทร์ ปินตาอ้าย; Sakkarin Pinta-ay (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-07-09)
      การประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพแบบดัดแปลง (adaptive HTA; aHTA) เป็นกระบวนการที่มีโครงสร้าง (Structured approach) ที่ใช้ในการเลือก และดำเนินการสำหรับการประเมินเทคโนโลยีที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงข้อจำกัดด้านเวลาใน ...
    • การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ (ระยะที่ 1) 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ปิยะเมธ ดิลกธรสกุล; Piyameth Dilokthornsakul; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee; นันทวรรณ กิติกรรณากรณ์; Nantawarn Kitikannakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)
      รายจ่ายด้านยาเป็นสัดส่วนสำคัญในระบบบัญชีรายจ่ายสุขภาพแห่งชาติของทุกประเทศ การติดตามรายจ่ายด้านยาอย่างต่อเนื่องเป็นเป้าหมายของการวิจัยนี้ การพัฒนาแพลตฟอร์มระบบการจัดทำบัญชีรายจ่ายด้านยาแห่งชาติ (ระยะที่ 1) ออกแบบสำหรับการดำเนิน ...
    • การสำรวจสถานการณ์ราคายาและออกแบบนโยบายราคายาของประเทศไทย 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Chaoncin Sooksriwong; ศนิตา หิรัญรัศมี; Sanita Hirunrassamee; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; สิริวัฒน์ สุวัฒนปรีดา; Siriwat Suwattanapreeda; ถิรพิชญ์ เจือจันทร์; Thirapich Chuachantra (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06-01)
      ที่มา มาตรการของภาครัฐฯ ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดราคายาได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ที่มีการพัฒนานโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรกของประเทศไทย จึงควรมีการวิจัยเพื่อประเมินผลกระทบต่อราคายาที่เกิดจากมาตรการต่างๆ ...
    • การสำรวจสถานการณ์ราคายาและออกแบบนโยบายราคายาของประเทศไทย (ฉบับภาษาอังกฤษ) 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Chaoncin Sooksriwong; ศนิตา หิรัญรัศมี; Sanita Hirunrassamee; กุสาวดี เมลืองนนท์; Kusawadee Maluangnon; สิริวัฒน์ สุวัฒนปรีดา; Siriwat Suwattanapreeda; ถิรพิชญ์ เจือจันทร์; Thirapich Chuachantra (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      ที่มา มาตรการของภาครัฐฯ ที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดราคายาได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 ที่มีการพัฒนานโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรกของประเทศไทย จึงควรมีการวิจัยเพื่อประเมินผลกระทบต่อราคายาที่เกิดจากมาตรการต่างๆ ...
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540-11)
      - สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขเตรียมเสนอผล 5 โครงการวิจัยรับแผนสุขภาพดีด้วยตนทุนต่ำ หาแนวทางจัดซื้อยาคุณภาพราคาประหยัด - ระดมความคิดกำหนดทิศทางและเป้าหมาย การวิจัยและพัฒนารูปแบบประชาสังคมผู้สูงอายุ – ศูนย์แพทย์ชุมชน ...
    • จับกระแส : จดหมายข่าวสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 

      ปณิธาน หล่อเลิศวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541-11)
      – ชี้มาตรการต่อรองราคายา ประหยัดงบประมาณได้ 25% แต่ยังมีช่องให้ทุจริต เสนอสาธารณสุขเร่งปรับปรุงระบบบริหารเวชภัณฑ์ – ปัญหายาของประเทศไม่ได้มีเพียงการจัดซื้อ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสนับสนุน 5 ชุดโครงการวิจัยด้านยา ...
    • ผลกระทบของการเพิ่มเพดานความคุ้มค่าในอดีตที่ผ่านมาที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของราคายา การตัดสินใจคัดเลือกยาเข้าบัญชียาหลักแห่งชาติและภาระงบประมาณของเจ้าภาพกองทุนต่างๆ 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; เกรียง ตั้งสง่า; Kriang Tungsanga; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; Wang, Yi; บุสดี โสบุญ; Budsadee Soboon; วรรณนิษา เถียรทวี; Wannisa Theantawee; จุฑาทิพ เลาหเรืองชัยยศ; Jutatip Laoharuangchaiyot; ธนกฤต มงคลชัยภักดิ์; Thanakrit Mongkolchaipak; ธนิศา ทาทอง; Thanisa Thathong; Wee, Hwee Lin; Nakamura, Ryota (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      บทนำ : มีการอภิปรายอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับมูลค่าที่เหมาะสมของเพดานความคุ้มค่า (Cost-Effectiveness Threshold, CET) ทั่วโลก หลายประเทศรวมทั้งสหราชอาณาจักรและประเทศไทยได้รับคำขอว่า CET ปัจจุบันต่ำเกินไปและควรเพิ่มขึ้น ...