Now showing items 1-19 of 19

    • การประเมินระบบบริหารจัดการการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย 

      วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย (National Health Examination Survey: NHES) ในประเทศไทย เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 และดำเนินการเรื่อยมาทุก 5 ปี การสำรวจนี้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 2 วิธีหลัก ได้แก่ ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครสงขลา 

      วรนิษฐา บุญฤทธิ์; Waranitta Boonyarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ผู้วิจัยเล็งเห็นว่าการพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพมีความสําคัญและสามารถนํามาใช้ในการประเมินสภาวะทางสุขภาพที่สําคัญของประชาชนในพื้นที่เทศบาลนครสงขลาได้ อีกทั้งยังมีความสอดคล้องกับปัญหา วัฒนธรรม ค่านิยม และความต้องการของคนในพื้นที่ศึกษา ...
    • การสำรวจด้านโภชนาการ การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พศ 2551-2552 

      วิชัย เอกพลากร; วราภรณ์ เสถียรนพเก้า; ศักดา พรึงลำภู (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย, 2553)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551- 2552 นี้เก็บข้อมูลในกลุ่มตัวอย่างประชากรไทยอายุตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ที่อาศัยใน 20 จังหวัดทั่วประเทศและกทม. จำนวน 29,485 คน คิดเป็นอัตราตอบกลับร้อยละ 93 โดยเป็น ตัวอย่างเด็กอายุ 1-14 ...
    • การสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียนในประเทศไทย พ.ศ. 2564 

      กระทรวงสาธารณสุข. กลุ่มอนามัยเด็กวัยเรียนวัยรุ่น สำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      สำหรับในประเทศไทย โดยกรมอนามัยได้ดำเนินการสำรวจภาวะสุขภาพนักเรียน ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2551 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณและการสนับสนุนทางวิชาการจากองค์การอนามัยโลก ดำเนินการโดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและแบบสำรวจมาตรฐานที่ใช้ร ...
    • การสำรวจสถานะสุขภาพและสภาพการใช้ยาของประชาชนในชุมชน 

      Wuntipong Satawongtip; วุฒิพงศ์ สัตยวงศ์ทิพย์; อุษาวดี มาลีวงศ์; ปิลันธนา สัจจวาที; ธนารัตน์ เกียรติสกล; ไพบูลย์ อัศวธนบดี; สุทธิรัตน์ บุษดี; Ausawadee Maleewaong; Pisantana Sachawktee; Tanarat Kiasakol; Paiboon Asawatanabodee; Suteerat Busadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาเรื่องการสำรวจสถานะสุขภาพและสภาพการใช้ยาของประชาชนในชุมชนเป็นงานวิจัยหนึ่งในชุดวิจัยเกี่ยวกับบทบาทร้านยากับโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาทรักษาทุกโรค เมื่อรัฐบาลประกาศนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและเริ่มโครงการ ...
    • การสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2565-2566 (ระยะที่ 1) 

      กรกมล นิยมศิลป์; Kornkamol Niyomsilp; จิราพร ขีดดี; Chiraporn Khitdee; นพวรรณ โพชนุกูล; Noppawan Pochanukul; ภัทราภรณ์ หัสดิเสวี; Pattraporn Hasadisevee; ณัฐพงค์ กันทะวงค์; Natthapong Kunthawong; ณัฐมนัสนันท์ ศรีทอง; Nuttamanutsanan Srithong; ชนิกา โรจน์สกุลพานิช; Chanika Rotsakoonpanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      กรมอนามัย โดยสำนักทันตสาธารณสุข ตระหนักถึงความสำคัญของข้อมูลที่ได้จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ จึงได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลดังกล่าวในระดับประเทศเป็นระยะทุก 5 ปี และในปี พ.ศ. 2565 ได้จัดทำโครงการสำรวจสภาวะสุขภ ...
      Tags:
    • การสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 9 พ.ศ. 2565–2566 (ระยะที่ 2) 

      กรกมล นิยมศิลป์; Kornkamol Niyomsilp; จิราพร ขีดดี; Chiraporn Khitdee; นพวรรณ โพชนุกูล; Noppawan Pochanukul; ภัทราภรณ์ หัสดิเสวี; Pattraporn Hasadisevee; ณัฐมนัสนันท์ ศรีทอง; Nuttamanutsanan Srithong; ชนิกา โรจน์สกุลพานิช; Chanika Rotsakoonpanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-05)
      สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ได้ดำเนินการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ทุก 5 ปี ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 9 ดำเนินการเก็บข้อมูลในปี พ.ศ. 2566 โดยสุ่มจังหวัดในเขตสุขภาพ 12 เขต เขตละ 2 จังหวัด รวม 24 จังหวัดและพื้นที่กรุงเทพมหานคร ...
    • การสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; กระทรวงสาธารณสุข. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การสํารวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546 – 2547 ได้ดําเนินการโดยสํานักงานการสํารวจสภาวะสุขภาพอนามัย (สกสอ.) ซึ่งจัดตั้งโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขและสนับสนุนด้านงบประมาณการสํารวจจากสํา ...
    • การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 : สุขภาพเด็ก 

      วิชัย เอกพลากร; ลัดดา เหมาะสุวรรณ; นิชรา เรืองดารกานนท์; วราภรณ์ เสถียรนพเก้า; หทัยชนก พรรคเจริญ; Wichai Aekplakorn; Ladda Mo-suwan; Nichara Ruangdaraganon; Warapone Satheannoppakao; Hataichanok Puckcharern (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      โครงการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายเป็นโครงการสำรวจสถานะสุขภาพของประเทศที่สำคัญที่ช่วยเฝ้าระวังสภาวะทางสุขภาพประชาชนไทย การดำเนินการสำรวจครั้งที่ 5 นี้ มีประเด็นทางสุขภาพที่ครอบคลุมในการสำรวจครั้งนี้มีทั้งในเรื ...
    • การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2562-2563 

      วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn; หทัยชนก พรรคเจริญ; Hataichanok Puckcharern; วราภรณ์ เสถียรนพเก้า; Warapone Satheannoppakao (คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, 2564)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายเป็นการสำรวจระดับประเทศที่ช่วยเฝ้าระวังสภาวะทางสุขภาพประชาชนไทย การสำรวจครั้งนี้เป็นครั้งที่ 6 ดำเนินงานภาคสนามในปี พ.ศ. 2562 - 2563 ประเด็นทางสุขภาพที่ครอบคลุมในการสำรวจมีทั้งในเ ...
      Tags:
    • การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 

      วิชัย เอกพลากร; เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; สุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล; หทัยชนก พรรคเจริญ; วราภรณ์ เสถียรนพเก้า; กนิษฐา ไทยกล้า (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย, 2553)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551-2552 นี้ ดำเนินการโดยสำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ ...
    • การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 

      วิชัย เอกพลากร; หทัยชนก พรรคเจริญ; กนิษฐา ไทยกล้า; วราภรณ์ เสถียรนพเก้า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-11-01)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 นี้ ดำเนินการโดยแผนงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข โดยความร่วมมือจากเครือข่ายมหาวิทยาลัยในภูมิภาคภาคต่างๆ ...
    • ความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทย: การวิเคราะห์ผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560 

      ธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์; Teerawat Tussanapirom; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการจัดให้มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้ประชากรเกือบทั้งหมดมีสิทธิในสวัสดิการการรักษาทางทันตกรรมที่จัดให้โดยรัฐ แต่จากผลการสำรวจระดับประเทศที่ผ่านมานั้น ...
    • คู่มือการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551 

      วิชัย เอกพลากร; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย, 2551-06-09)
      หัวใจสำคัญของการสำรวจทางสุขภาพคือการได้ข้อมูลที่ถูกต้องสามารถสะท้อนภาพปัญหาทางสุขภาพแท้จริงของประชากร องค์ประกอบสำคัญของการได้ข้อมูลที่ถูกต้องขึ้นอยู่กับเครื่องมือที่ใช้วัดที่มีความเที่ยงตรง ผู้เก็บข้อมูลที่มีความเข้าใจก ...
    • ประโยชน์ของข้อมูลการสำรวจครัวเรือนเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; ชนิกานต์ เนตรภักดี; Chanikarn Netrpukdee; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; จินตนา จันทร์โคตรแก้ว; Jintana Jankhotkaew; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; นิศาชล เศรษฐไกรกุล; Nisachol Cetthakrikul; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำรวจสถิติครัวเรือนที่จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) อย่างต่อเนื่องในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เพื่ออ้างอิงในกระบวนการกำหนดนโยบายสุขภาพจนบรรลุผลหลายประเด็น ...
    • รายงานการศึกษาสาเหตุการตายของกลุ่มตัวอย่างในการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 

      วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn; วรางคณา จันทร์คง; Warangkana Chankong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ข้อมูลทางสุขภาพที่บ่งชี้ปัญหาทางสุขภาพของประชาชนได้ดีข้อมูลหนึ่งคือข้อมูลสาเหตุการตาย อย่างไรก็ตามคุณภาพข้อมูลนี้ โดยเฉพาะความถูกต้องของการวินิจฉัยสาเหตุการตาย ที่ผ่านมายังมีช่องว่างให้พัฒนาอยู่อีกมาก ทั้งในส่วนที่มีการต ...
    • รายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ประเทศไทย พ.ศ. 2566 

      กรกมล นิยมศิลป์; Kornkamol Niyomsilp; จิราพร ขีดดี; Chiraporn Khitdee; นพวรรณ โพชนุกูล; Noppawan Pochanukul; ภัทราภรณ์ หัสดิเสวี; Pattraporn Hasadisevee; นันท์มนัส แย้มบุตร; Nanmanas Yaebut; อรฉัตร คุรุรัตนะ; Orachad Gururatana; วรมน อัครสุต; Voramon Agrasuta; ปฐมา เชาวนเมธา; Patama Chaowanamayta; พัชรวรรณ สุขุมาลินท์; Patcharawan Sukhumalind (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      สำนักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ได้ดำเนินการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ทุก 5 ปี ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 9 ดำเนินการเก็บข้อมูลในปี พ.ศ. 2566 โดยสุ่มจังหวัดในเขตสุขภาพ 12 เขต เขตละ 2 จังหวัด รวม 24 จังหวัดและพื้นที่กรุงเทพมหานคร ...
    • อายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 

      ศักดา ทองดีเพ็ง; Sakda Tongdeepeng; พนิดา ประทุมวัน; Panida Pratumwan; ปิยะวัฒน์ หนูกลัด; Piyawat Hnuklud (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอายุคาดเฉลี่ยที่มีสุขภาวะของประชาชนในเขตสุขภาพที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 และจัดลำดับโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญในเขตสุขภาพที่ 3 เป็นวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรทาโร่ยามาเน่ ...
    • เอกสารวิชาการเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อสภาวะสุขภาพ 

      ดาริวรรณ เศรษฐีธรรม; Dariwan Settheetham; กาญจนา นาถะพินธุ; วรรณภา อิชิดะ; Khanchana Natpintu; Wannapa Itchida (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      ปัจจัยที่มีผลต่อสภาวะสุขภาพ เป็นการระบุถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ สามารถนำมาใช้ในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพอย่างเป็นระบบ และดำเนินการได้อย่างรวดเร็ว ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรองข้อเสนอ นโยบาย และโครงการ ขั้นตอนการก ...