Browsing สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI) by Subject "SARS-CoV-2"
Now showing items 1-8 of 8
-
การติดตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิต้านทานระยะยาวต่อ SARS-CoV-2 ในผู้ป่วยที่หายจากโรคโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)ประเทศไทยเป็นอีกประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข และ เศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเชื้อ SARS-CoV-2 ให้รวดเร็วที่สุด จึงเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นงานวิจัยนี้ ... -
การพัฒนากระบวนการและฐานข้อมูล ระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อโควิด-19 สำหรับกลุ่มประชากรไทยข้ามพรมแดน ในเขตสุขภาพที่ 12
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา มีการมอบหมายอำนาจและหน้าที่ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้การรับผิดชอบของคณะแพทยศาสตร์ ดำเนินการโปรแกรมติดตามผู้เดินทางมาจากประเทศมาเลเซีย ... -
การศึกษาประสิทธิภาพของยาไอเวอร์เมคตินเปรียบเทียบกับยาไฮด้อกซี่คลอโรควินร่วมกับดารุนาเวียร์/ริโตนาเวียร์ในการลดระยะเวลาการตรวจพบเชื้อ SAR-CoV2 จากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจของผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ไม่แสดงอาการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การวิจัยแบบสุ่ม ไม่ปกปิด ในผู้ติดเชื้อ SARS-CoV-2 ซึ่งไม่มีอาการหรือมีอาการไม่รุนแรง เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยาไอเวอร์เมคตินขนาดสูง (600 ไมโครกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม) วันละครั้งนาน 3 วัน (กลุ่ม A) จำนวน 57 ราย ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางปฏิบัติในการตรวจทางชีวโมเลกุลเพื่อแยกเชื้อไวรัสที่มีความสามารถในการแพร่เชื้อได้ออกจากซากเชื้อไวรัสโคโรนาซาร์-2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)การตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสโคโรนาซาร์โควี-2 ตามที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ คือ วิธี real-time PCR แต่วิธีการตรวจดังกล่าวไม่สามารถแยกเชื้อเป็นกับซากเชื้อออกจากกันได้ คณะผู้วิจัยได้พัฒนาการออกแบบการตรวจวัดปริมาณสารพันธุกรรม ... -
การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ยาฟาวิพิราเวียร์ เป็นยาต้านที่มีกลไกออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ RNA-dependent RNA polymerase และน่าจะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้ เนื่องด้วยในสถานการณ์การระบาดของเชื้อมีความเป็นไปได้ว่าจะพบผู้ติดเชื้อมากขึ้นเรื่อยๆ ... -
ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย (Sinovac) ครบแล้ว 2 เข็ม ด้วยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (โควิด-19) ได้กลายเป็นปัญหาด้านการดูแลสุขภาพและสาธารณะมีความรุนแรงทั่วโลกนับตั้งแต่เกิดการระบาดครั้งแรกในปลายเดือนธันวาคม 2019 ปัจจุบันมีการใช้วัคซีนโควิด-19 ในหลายประเทศแต่ก็ยั ... -
ความปลอดภัยและผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด 19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง ในอาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนเข็มแรก และที่ได้รับวัคซีนกระตุ้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)เนื่องด้วยพบการระบาดในประเทศไทยในหลายระลอก การนำเข้าวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนไปยังประชากรทั่วประเทศ การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้วัคซี ... -
ประสิทธิผลการใช้พลาสมาของผู้ที่หายป่วยจากโรคโควิด-19 สำหรับรักษาผู้ป่วย โควิด-19 ที่มีภาวะปอดบวมระดับปานกลางถึงรุนแรง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคอุบัติใหม่โควิด-19 ที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่มีการระบาดไปทั่วโลก โดยเริ่มพบการแพร่ระบาดของเชื้อครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การ ...