แสดงรายการ 1041-1060 จาก 5446

    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2562 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2562 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการเรื่อง อ่านงานวิจัยแล้วตีความหมายผลลัพธ์อย่างไร โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย และนิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 8 บทความ ได้แก่ 1) ความสัมพันธ ...
    • ความถี่และปัจจัยที่เกี่ยวข้องของอาการน้ำตาลต่ำในเลือด และความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือด ในผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่สอง ณ หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 

      ชนากานต์ ชัยธนกุล; Chanakarn Chaitanakul; นฤชา โกมลสุรเดช; Narucha Komolsuradej (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตบริการสุขภาพที่ 10 สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ...
    • การรับรู้และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตบริการสุขภาพที่ 10 

      นิชนันท์ สุวรรณกูฏ; Nitchanun Suwannakoot; สุวภัทร นักรู้กำพลพัฒน์; Suvapat Nakrukamphonphatn; เรืองศิลป์ เถื่อนนาดี; Ruengsin Thuennade (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้และความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขตบริการสุขภาพที่ 10 สุ่มตัวอย่างอย่างง่าย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง ...
    • ภาระทางเศรษฐกิจจากการดูแลรักษาผู้ป่วยต่างด้าว: กรณีศึกษาโรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา จังหวัดกาญจนบุรี 

      รักษ์พงศ์ เวียงเจริญ; Rakpong Wiangcharoen; ชื่นฤทัย ยี่เขียน; Chuenrutai Yeekian; พรสวรรค์ อัตวินิจตระการ; Pornsawan Attavinijtrakarn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; สมเจตน์ เหล่าลือเกียรติ; Somjate Laoleukiat; ประตาป สิงหศิวานนท์; Pratap Singhasivanon; โมลี วนิชสุวรรณ; Molee Wanichsuwan; โชคชัย ลีโทชวลิต; Chockchai Leethochawalit; พรรณี ปิติสุทธิธรรม; Punnee Pitisuttithum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      จังหวัดกาญจนบุรีเป็นหนึ่งในจังหวัดชายแดนที่มีประชากรต่างด้าวอาศัยอยู่หนาแน่น ทำให้โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนาซึ่งเป็นโรงพยาบาลประจำจังหวัดต้องให้การดูแลรักษาผู้ป่วยต่างด้าวจำนวนมากมาอย่างต่อเนื่อง การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่ ...
    • ผลการดำเนินงานตามนโยบายการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในหญิงคลอดปกติ โรงพยาบาลมหาสารคาม 

      ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์; Chutimaporn Chaiyasong; พิริยา ติยาภักดิ์; Piriya Tiyapak; สุภาพร สุภาทวีวัฒน์; Supaporn Supathaweewat; ศราวุธ มิทะลา; Sarawut Mithala; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล: กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้ “การใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด” เป็นตัวชี้วัดหนึ่งของแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยมีเป้าหมายคือ อัตราการใช้ยาปฏิชีวน ...
    • ความพึงพอใจการล้างไตทางช่องท้องและทัศนคติต่อการปลูกถ่ายไตในผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการ PD First Policy 

      จตุรงค์ กิจตระกูลรัตน์; Jathurong Kittrakulrat; ภาวิณี อรรณพพรชัย; Pavinee Annoppornchai; อรอนงค์ เจียรสุจิตวิมล; Onanong Jearnsujitvimol; กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      โครงการ Peritoneal Dialysis First Policy ได้เข้ามามีบทบาททำให้ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (end-stage renal disease) ได้รับการล้างไต และช่วยเพิ่มอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายตั้งแต่ปี พ.ศ. ...
    • การประเมินระบบบริหารจัดการการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย 

      วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย (National Health Examination Survey: NHES) ในประเทศไทย เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2534 และดำเนินการเรื่อยมาทุก 5 ปี การสำรวจนี้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 2 วิธีหลัก ได้แก่ ...
    • ความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทย: การวิเคราะห์ผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560 

      ธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์; Teerawat Tussanapirom; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการจัดให้มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้ประชากรเกือบทั้งหมดมีสิทธิในสวัสดิการการรักษาทางทันตกรรมที่จัดให้โดยรัฐ แต่จากผลการสำรวจระดับประเทศที่ผ่านมานั้น ...
    • ความสัมพันธ์ระหว่างการรู้เท่าทันสื่อสุขภาพแบบออนไลน์ การค้นหาข้อมูลข่าวสาร ความรู้ ทัศนคติและการจัดการตนเองเพื่อรักษาโรคติดเชื้อเฉียบพลันในระบบทางหายใจส่วนบนของประชากรไทย 

      พรพรรณ ประจักษ์เนตร; Pornpun Prajaknate (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      ถึงแม้ว่าการดำเนินการรณรงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในประเทศไทยจะได้เริ่มต้นขับเคลื่อนในระดับประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 แล้ว แต่ประชากรไทยยังคงมีพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุผล สถานการณ์ดังกล่า ...
    • คู่มือการใช้ Web GIS สำหรับผู้ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 

      จันทิมา นวะมะวัฒน์; Juntima Nawamawat; วิภาพร สิทธิสาตร์; Vipaporn Sittisart; กฤษฎา เหล็กเพชร; Kritsada Lekphet; ไพศาล เธียรถาวร; Pisan Teantawarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) เป็นเครื่องมือที่นำระบบกราฟิกแผนที่ (Geographic) มาทำงานร่วมกับระบบฐานข้อมูล (Database) ให้กลายเป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ที่สามารถใช้ในการจัดเก็บ ...
    • คู่มือการจัดทำ GIS, Web GIS สำหรับ Admin ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 

      จันทิมา นวะมะวัฒน์; Juntima Nawamawat; วิภาพร สิทธิสาตร์; Vipaporn Sittisart; กฤษฎา เหล็กเพชร; Kritsada Lekphet; ไพศาล เธียรถาวร; Pisan Teantawarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) เป็นเครื่องมือที่นำระบบกราฟิกแผนที่ (Geographic) มาทำงานร่วมกับระบบฐานข้อมูล (Database) ให้กลายเป็นข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data) ที่สามารถใช้ในการจัดเก็บ ...
    • การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการสุขภาพ ของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ 

      จันทิมา นวะมะวัฒน์; Juntima Nawamawat; วิภาพร สิทธิสาตร์; Vipaporn Sittisart; กฤษฎา เหล็กเพชร; Kritsada Lekphet; ไพศาล เธียรถาวร; Pisan Teantawarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      ระบบสุขภาพอำเภอ ถือเป็นจุดคานงัดในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น โดยมีคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ หรือ คณะกรรมการ พชอ. (District health board) เป็นกลไกในการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่อำเภอ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าของบริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ก่อนการสัมผัสเชื้อ 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      บริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ก่อนการสัมผัสเชื้อ (Pre-Exposure Prophylaxis ; PrEP) เป็นหนึ่งในมาตรการป้องกันการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มประชากรหลักที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงของการติดเชื้อ เช่น กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและหญิงข้ามเพศ ...
    • การวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบนำร่องการปฏิรูประบบบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรคระดับพื้นที่ 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul; ดวงดาว ศรียากูล; Duangdao Sriyakun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเป็นมาตรการที่มีประสิทธิผลสูงในการลดภาระโรคและยกระดับสุขภาพของประชาชน งบบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคสำหรับประชาชนคนไทยทุกคนอยู่ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งในการดำเนินงานที่ผ่านมาปร ...
    • การศึกษาทบทวนชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้บัตรประกันสุขภาพคนต่างด้าวของกระทรวงสาธารณสุข 

      ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ประเทศไทยมีจำนวนแรงงานต่างด้าวเพิ่มมากขึ้น โดยส่วนใหญ่เข้ามาทำงานประเภทที่แรงงานไทยโดยทั่วไปปฏิเสธ โดยแรงงานต่างด้าวมีความเสี่ยงในการเกิดปัญหาสุขภาพที่รุนแรงมากกว่าคนในภาคส่วนอื่น เนื่องจากยังขาดความรู้ความเข้าใจในการป้อ ...
    • การพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปกครอง และครู (ปีที่ 2) 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; รัชนี ฉลองเกื้อกูล; Rachanee Chalongkuakul; มธุรดา สุวรรณโพธิ์; Mathurada Suwannapho; วิมลรัตน์ วันเพ็ญ; Wimonrat Wanpen; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การบูรณาการการดูแลระหว่างผู้ปกครองครูและผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการรักษาเด็กที่มีภาวะซนสมาธิสั้นให้ประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครอง ครูและผู้ให้บริการทางการแพทย์มีแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้ ...
    • การเงินการคลังที่เกี่ยวกับยา 

      รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungpetch Sakulbumrungsil; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; Inthira Kanchanaphibool; ทวีศักดิ์ มโนมยิทธิกาญจน์; Taweesuk Manomayitthikan; ธนิศา ทาทอง; Thanisa Thathong; ฉันทวัฒน์ ปฏิกรณ์; Chanthawat Patikorn; กุลจิรา อุดมอักษร; Khunjira Udomaksorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • การจัดหาและกระจายยา 

      เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • กฎหมายเกี่ยวกับยา 

      กิตติ พิทักษ์นิตินันท์; Kitti Pitaknitinan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • การคัดเลือกยา 

      อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ