แสดงรายการ 2581-2600 จาก 5448

    • ผลการสังเคราะห์ประเด็นสำคัญความเชื่อมั่นต่อระบบสุขภาพ พ.ศ.2555 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      ความเป็นมาของการศึกษาเรื่องความเชื่อมั่นต่อระบบสุขภาพของคนไทย เริ่มต้นจากการเห็นความสำคัญของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในการประเมินระบบสุขภาพในมุมมองของประชาชน ซึ่งนับว่าเป็นการวัดระบบสุขภาพโดยใช้การรับรู้หรือความรู้สึกของประชาชน ...
    • กลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04)
      การศึกษาวิจัยเรื่องกลไกธรรมาภิบาลในการควบคุมวิชาชีพเวชกรรมในต่างประเทศ : กรณีศึกษาประเทศสหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และแอฟริกาใต้ โดยเน้นเรื่องบทบาทหน้าที่ขององค์กรควบคุมกำกับดูแลผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมคือ แพทยสภา ...
    • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย การประเมินผลลัพธ์ของการดำเนินงานมาตรการสร้างเสริมสุขภาพ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
    • Antibiotic Resistance: Crisis of Thai People’s Health 

      Health Systems Research Institute (Health Systems Research Institute, 2555)
      Presented at the National Seminar on Antibiotic Resistance: Crisis of Thai People’s Health” 28 - 29 May 2012, at Siam City Hotel, Bangkok, Thailand
    • เชื้อดื้อยาปฏิชีวนะ : ภาวะวิกฤตต่อสุขภาพคนไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05-29)
    • ผลของการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจที่ได้รับยาวาร์ฟารินโดยเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ 

      ดุษฎี อารยะวงศ์ชัย; ธีรพล เกาะเทียน; มนชยา ศิริอังคาวุธ; สุภาพร พรมสุพรรณ; Dusadee Arayawongchai; Teerapon Kaothean; Monchaya Siriangkhawut; Supaporn Promsupan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      โรคลิ้นหัวใจเป็นโรคเรื้อรังซึ่งมีความยุ่งยากซับซ้อนในการดูแลรักษาและมีอัตราตายสูง รวมทั้งการเกิดภาวะแทรกซ้อนโดยเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยที่ต้องรับประทานยาวาร์ฟาริน(Warfarin) จนต้องกลับเข้ารับการรักษาใหม่ ส่งผลกระทบต่อตัวผู้ป่วย ...
    • การปฏิบัติตามแนวจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของโครงการวิจัย 

      สาวิตรี เทียนชัย; Savitree Teanchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของการทบทวนอย่างต่อเนื่องของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ เพื่อติดตามการปฏิบัติตามโครงการวิจัยที่ได้รับอนุมัติไปแล้ว ของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ของสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ ...
    • การเฝ้าระวังการเสียชีวิตเนื่องจากภาวะอากาศหนาวในประเทศไทย เดือนตุลาคม 2553 – กุมภาพันธ์ 2554 

      แสงโฉม ศิริพานิช; พรรณนภา เหมือนผึ้ง; อนงค์ แสงจันทร์ทิพย์; Sangchom Siripanich; Pannapa Meaunphueng; Anong Sangchantip (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สภาพอากาศที่หนาวเย็น เป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วยและเสียชีวิตสูงขึ้น การสัมผัสกับอากาศหนาวเย็น ทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิต่ำกว่าปกติ และเป็นผลต่อระบบสมองและหัวใจ การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง( ...
    • การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยเรื้อรังที่รับยาต่อเนื่องระหว่างร้านยาคุณภาพ และศูนย์แพทย์ชุมชน จังหวัดมหาสารคาม 

      พยอม สุขเอนกนันท์; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; บุษบา โทวรรณา; รัตนา เสนาหนอก; พีรยา สมสะอาด; อุกฤษฎ์ สนหอม; อภิสรา คำวัฒน์; Phayom Sookaneknun; Thananan Rattanachotpanit; Bussaba Thowanna; Rattana Senanok; Peeraya Somsaard; Ukrit Sonhorm; Apisara Kamwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      บทบาทร้านยาที่ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังอย่างเป็นระบบเชื่อมต่อกับหน่วยบริการของรัฐยังเป็นเรื่องใหม่สำหรับประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิต ...
    • 5 ปีของการถ่ายโอนสถานีอนามัยให้แก่องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาล: การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข ปี 2550-2554 

      เยาวมาลย์ เสือแสงทอง; รำไพ แก้ววิเชียร; Yaovaman Suasangtong; Rampai Kaewvichien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      เป็นการศึกษาปรากฏการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในช่วง 5 ปีของการถ่ายโอนสถานีอนามัยให้องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) และเทศบาล เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพจากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ ในการประมวลและสังเคราะ ...
    • การจำยี่ห้อผลิตภัณฑ์อาหารของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 

      นงนุช ใจชื่น; พเยาว์ ผ่อนสุข; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; ทักษพล ธรรมรังสี; Nongnuch Jaichuen; Payao Phonsuk; Sirinya Phulkerd; Surasak Chaiyasong; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      หนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเพิ่มขึ้นของภาวะโรคอ้วนในเด็ก คือ การโฆษณาของอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีอิทธิพลต่อความชอบอาหารและพฤติกรรมการบริโภคของเด็ก การโฆษณาจึงเป็นกลยุทธ์สำคัญทางการตลาดในการสร้างการจดจำยี่ห้ออาหาร โดยมีเป้าหมาย ...
    • ชุดสิทธิประโยชน์การจ้างงานลูกจ้างชั่วคราวเพื่อจูงใจบุคลากรในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษฎา ว่องวิญญู; จิราภรณ์ หลาบคำ; วรางคณา วรราช; Nonglak Pagaiya; Apichart Chantanitr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou; Chiraporn Lapkom; Warangkhana Worarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์ความต้องการบริการสุขภาพที่เพิ่มขึ้นเป็นเหตุให้ระบบบริการสุขภาพมีความต้องการกำลังคนมากขึ้น นโยบายการลดกำลังคนภาครัฐส่งผลให้ระบบบริการของกระทรวงสาธารณสุขเผชิญปัญหาการขาดแรงจูงใจกำลังคนเข้าสู่ระบบสุขภาพ การศึกษานี้ ...
    • ผลลัพธ์ของการปรับเพิ่มค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายต่อการปฏิบัติงานของทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชน 

      สุณี วงศ์คงคาเทพ; โกเมศ วิชชาวุธ; จารุวัฒน์ บุษราคัมรุหะ; สุริยา รักเจริญ; Sunee Wongkongkathep; Komet Wichawut; Jaruwat Busarakamruha; Suriya Rakcharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์และผลกระทบของการปรับเพิ่มค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่ายต่อ 1) การเพิ่มการกระจายและคงอยู่ของทันตแพทย์ในโรงพยาบาลชุมชน (รพช.) 2) ฐานะทางการเงินของรพช.และ 3) การเพิ่มผลผลิตในการปฏิบัติ ...
    • จะดึงดูดแพทย์จบใหม่ไปทำงานที่ชนบทได้อย่างไร: การใช้เครื่องมือทดลองการตัดสินใจเลือกงาน 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ฑิณกร โนรี; สัญญา ศรีรัตนะ; อภิชาติ จันทนิสร์; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Tinnakorn Noree; Sanya Sriratana; Apichart Chantanitr (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ปัญหาการขาดแคลนแพทย์ในชนบทนั้นต้องการการแก้ไขอย่างเร่งด่วน แม้ปัจจุบันมีแพทย์เข้าไปทำงานในชนบททุกปี แต่อัตราแพทย์ลาออกจากชนบทมีประมาณ 11% จึงจำเป็นที่จะต้องมีการค้นหาวิธีที่จะดึงดูดและธำรงรักษาแพทย์ในพื้นที่ชนบท ...
    • ทัศนคติและการเลือกงานในชนบทของแพทย์จบใหม่ 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; อภิชาติ จันทนิสร์; สัญญา ศรีรัตนะ; กฤษดา ว่องวิญญู; Nonglak Pagaiya; Viroj Tangcharoensathien; Vijj Kasemsup; Apichart Chantanisr; Sanya Sriratana; Krisada Wongwinyou (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สถานการณ์การขาดแคลนแพทย์ เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการขาดแคลนแพทย์ในชนบท งานวิจัยนี้จึงศึกษาทัศนคติและปัจจัยที่ทำให้แพทย์เลือกงานในชนบท โดยการเก็บข้อมูลของบัณฑิตแพทย์กลุ่มที่สำเร็จการศึกษาในปี ...
    • แนวคิดปัจจุบันของการเปิดเผยความผิดพลาดทางการแพทย์ 

      บุญศักดิ์ หาญเทอดสิทธิ์; Boonsak Hanterdsith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      ในปัจจุบันปัญหาการร้องเรียนและฟ้องร้องแพทย์มีแนวโน้มมากขึ้น สาเหตุนำในการฟ้องร้องหรือร้องเรียนแพทย์นั้นมีจุดเริ่มต้นจากความเสียหายที่ผู้ป่วยหรือญาติได้รับในกระบวนการรักษาพยาบาล โดยมีทั้งความผิดพลาดที่ป้องกันได้และเป็นเหตุสุดวิสัย ...
    • สังเคราะห์บทเรียนการพัฒนาระบบส่งต่อคนไข้ภาคเหนือตอนบน 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; ธรณี กายี; นเรนทร์ โชติรสนิรมิต; ยุทธศาสตร์ จันทร์ทิพย์; ศรีสกุล ทิพย์กมล; กรองกาญจน์ สุธรรม; วิศิษฎ์ ตั้งนภากร; รัศมี ตันศิริสิทธิกุล; Paibul Suriyawongpaisal; Toranee Kayee; Narain Chotirosniramit; Yuttasart Janthip; Srisakul Thipkamol; Krongkarn Sutham; Visit Tangnapakorn; Rassamee Tansirisithikul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      มีคำกล่าวว่า “คำทำนายอนาคตที่แม่นยำที่สุด คือ การสร้างอนาคตที่อยากเห็น” นั่นเอง บทสังเคราะห์ความรู้ฝังลึกและความรู้เชิงประจักษ์เกี่ยวกับการพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยในภาคเหนือตอนบนในรายงานนี้สะท้อนความพยายามของผู้เกี่ยวข้อง ...
    • พลังของ CNN ในความปลอดภัยของคนไข้ด้านยา 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; รุ่งทิวา หมื่นปา; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อำนวย พฤกษ์ภาคภูมิ; เชาวรัตน์ มั่นพรหม; Paiboon Suriyawongpaisarn; Rungtiwa Hmuenpha; Napawan Jeanpeerapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
    • การประเมินแผนงานประเมินเทคโนโลยีและนโยบายเพื่อการลงทุนด้านสุขภาพ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-04)
      สืบเนื่องจากการประเมินยุทธศาสตร์หลักของ HITAP ที่คณะผู้ประเมินชาวไทยและอังกฤษได้ทําการตรวจสอบในปี 2551/52 ตามความต้องการของสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ 1 ในปี 2554 HITAP ได้ริเริ่มให้มีการประเมินครั้งที่สอง ...
    • การพัฒนาดัชนีวัดความเชื่อมันต่อระบบสุขภาพของประชาชน ระยะที่ 2 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      ในการพัฒนาดัชนีความเชื่อมั่นของประชาชนต่อระบบสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามประเมินความเชื่อมั่นซึ่งเป็นความรู้สึกหรือการรับรู้ของประชาชน ที่มีต่อระบบสุขภาพมากกว่าการประเมินข้อเท็จจริงของระบบสุขภาพ ...