แสดงรายการ 601-620 จาก 5437

    • การศึกษาความชุกของวัณโรคดื้อยาในเด็กไทยและเภสัชจลนศาสตร์และความปลอดภัยของยาลีโวฟอกซาซินในการรักษาวัณโรคในเด็ก 

      วรรษมน จันทรเบญจกุล; Watsamon Jantarabenjakul; ทวิติยา สุจริตรักษ์; Tavitiya Sudjaritruk; ปิยรัชต์ สันตะรัตติวงศ์; Piyarat Santarattiwong; ธันยวีร์ ภูธนกิจ; Thanyawee Puthanakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      แผนงานวัณโรคดื้อยาในเด็ก ประกอบไปด้วย 2 โครงการ คือ โครงการความชุกของวัณโรคดื้อยาในเด็กไทย และโครงการเภสัชจลนศาสตร์และความปลอดภัยของยาลีโวฟอกซาซินในการรักษาวัณโรคในเด็ก ซึ่งดำเนินงานใน 3 สถาบัน (โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอและออกแบบเชิงนโยบายการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้องค์การบริหารส่วนจังหวัด 

      ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; วิทยา โชคเศรษฐกิจ; Wittaya Choksettakij; ภัควัฒน์ ภูริพงศ์ธนวัต; Pakawat Phuripongthanawat; อุกฤษณ์ กฤตยโสภณ; Ukkrit Kittayasophon; ณฐนภ ศรัทธาธรรม; Nathanop Satthatham; เยาววัลยา อ่อนโพธิ์ทอง; Yaowawanya Onphothong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      แม้ประเทศไทยจะประกาศใช้พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาเป็นระยะเวลา 22 ปีแล้ว แต่รัฐบาลก็ยังประสบปัญหาความล่าช้าในการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ...
    • เส้นทางการเจ็บป่วยของโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ความรอบรู้ทางสุขภาพ และกลยุทธ์การสื่อสารในการต่อสู้กับโรคเบาหวาน 

      พนม คลี่ฉายา; Phnom Kleechaya; ภีรกาญจน์ ไค่นุ่นนา; Phirakan Kai-nunna; อรุโณทัย วรรณถาวร; Arunothai Wannataworn; กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์; Kanniga Panyaamornwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเส้นทางการเจ็บป่วย ความรอบรู้ทางสุขภาพ การดำเนินงานในการต่อสู้กับโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และการพัฒนากลยุทธ์การสื่อสารเพื่อต่อสู้กับโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี ประกอบด้วย 1) ...
    • การประเมินผลการจัด Acute Respiratory Infection (ARI) Clinics เพื่อการดำเนินงานตรวจรักษาและควบคุมโรคโควิด-19 โรงพยาบาลรามาธิบดี 

      บัวหลวง สำแดงฤทธิ์; Bualuang Sumdaengrit; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม; Suchira Chaiviboontham; อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ; Apinya Siripitayakunkit; นพวรรณ พินิจขจรเดช; Noppawan Phinitkhajorndech; ซู้หงษ์ ดีเสมอ; Suhong Deesamer; แสงเดือน ปิยะตระกูล; Sangduen Piyatrakul; จุฑามาศ เทียนสอาด; Juthamas Tiansaard; นิภาพร บุตรสิงห์; Nipaporn Butsing; อรวรรณ วราภาพงษ์; Orawan Warapapong; อุษา ใจหนัก; Usa Jainuk; นพมาศ มณีโชติ; Noppamas Maneechote; กาญจนา รัตนะราช; Kanjana Rattanarat; รุ่งธิวา กันทะวัน; Rungthiwa Kantawan; เสาวรส พาณิชย์วิสัย; Saowaros Panichvisai; รวี อยู่สำราญ; Rawee Yoosamran; นพกาญจน์ วรรณการโสกณ; Noppakan Wannakansophon; สุภาภรณ์ จันทร์ไทย; Supaporn Chanthai; สรวดี ยอดบุตร์; Sarawadee Yodbute; จิตติมา นุริตานนท์; Jittima Nuritanon; กาญจนา ปานนอก; Kanchana Pannok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบรรยาย (Descriptive qualitative research design) โดยใช้วิธีการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใช้ CIPP Model เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประเมินโครงสร้างของระบบการจัดการ ...
    • การตั้งและพัฒนาระบบการตรวจลำดับสารพันธุกรรมให้แก่ผู้ป่วยโรคพันธุกรรม โรคหายากและพิการ 

      วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์; Vorasuk Shotelersuk; กัญญา ศุภปีติพร; Kanya Suphapeetiporn; ประสิทธิ์ เผ่าทองคำ; Prasit Phowthongkum; ฑัณฑริรา พรทวีทัศน์; Thantrira Porntaveetus; ชูพงศ์ อิทธิวุฒิ; Chupong Ittiwut; รุ่งนภา อิทธิวุฒิ; Rungnapa Ittiwut; จุรีรัตน์ โพธิ์แก้ว; Chureerat Phokaew; นรินทร์ อินทรักษ์; Narin Intarak; ศิรประภา ทองกอบเพชร; Siraprapa Tongkobpetch; เฉลิมพล ศรีจอมทอง; Chalurmpon Srichomthong; อัจจิมา อัศวพิทักษ์สกุล; Adjima Assawapitaksakul; อาญญฬิฎา บัวสงค์; Aayalida Buasong; วรรณนา เชฎฐ์เรืองชัย; Wanna Chetruengchai; ธนากร ธีรภานนท์; Thanakorn Theerapanon; กรรณธ์ญาณัฐษ์ ทวีรัชธรรม; Kanyanut Thaweerachathum; ฐิติยา วรรณไสย; Thitiya Wannasai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      โรคหายากพบในประชากรมากกว่า 350 ล้านคนทั่วโลก และมากกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของโรคเกิดจากสาเหตุทางพันธุกรรม โรคหายากจำนวนมากเป็นโรคที่มีความรุนแรงและทำให้เกิดความพิการแต่แรกเกิด การวินิจฉัยโรคหายากมีความซับซ้อนสูงมาก ...
    • การศึกษาและพัฒนาชุดอุปกรณ์ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศแบบเคลื่อนย้ายได้ 

      ศราวุธ เลิศพลังสันติ; Sarawut Lerspalungsanti; พรพิพัฒน์ อยู่สา; Pornpipat Yoosa; ฉัตรชัย ศรีสุรางค์กุล; Chadchai Srisurangkul; ประสิทธิ์ วัฒนวงศ์สกุล; Prasit Wattanawongsakun; ธีระพงษ์ บุญมา; Teerapong Boonma; ณรงค์ฤทธิ์ สืบนันตา; Narongrit Suebnunta; พีรกิตติ์ วิริยะรัตนศักดิ์; Perakit Viriyarattanasak; ฝอยฝน ศรีสวัสดิ์; Foifon Srisawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      ในสภาวะปกติใหม่ ชุดอุปกรณ์ที่สามารถช่วยป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศแบบเคลื่อนย้ายได้ (mobile Isolation precaution unit) เป็นหนึ่งในอุปกรณ์สำคัญที่จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายของเชื้อทางอากาศ เช่น โควิด-19 ...
    • ความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินการได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นซ้ำป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

      นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; อรนุช ทองจันดี; Oranuch Thongchundee; วุฒิกุล ธนากาญจนภักดี; Wuttikul Thanakanjanaphakdee; อัจฉรา คำมะทิตย์; Adchara Khammathit; กิตติพร เนาว์สุวรรณ; Kittiporn Nawsuwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02-28)
      การวิจัยเรื่องความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินต่อการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และประเมินตัวทำนายผลลัพธ์ในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความชุกของความต้องการรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2565 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง ข่าวสารจากโรคระบาดทั่วโลกสู่โรคประจำถิ่น โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 6 บทความ ได้แก่ 1) ลักษณะความเหลื่อมล้ ...
    • ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผลและการประยุกต์ใช้ในบริบทประเทศไทย 

      วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; อณิกา อิสลาม มาแชล; Aniqa Islam Marshall; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (effective coverage) เป็นการต่อยอดการวัดความครอบคลุมของบริการสุขภาพที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมาแต่เดิมโดยคำนึงถึงคุณภาพและประโยชน์ของบริการเหล่านั้นร่วมด้วย ในช่วงยี่สิบปีที่ผ่านมา องค์การอนามัย ...
    • บทเรียนจากการประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลประจำปี พ.ศ. 2564 ผ่านมุมมองของทีมผู้จดบันทึกรายงานการประชุม 

      ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การประชุมวิชาการรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล (Prince Mahidol Award Conference: PMAC) เป็นการประชุมวิชาการนานาชาติประจำปีที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับจากทั่วโลกในฐานะเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นนโยบายด้านสุขภา ...
    • ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมทางกายจากการเดินทางและลักษณะทางประชากรของประชาชนในภูมิภาคของประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ประโยชน์ทางสุขภาพจากกิจกรรมทางกายสัมพันธ์กับการเดิน การใช้จักรยาน และการใช้ขนส่งสาธารณะ สถาบันการเดินและการจักรยานไทยได้ส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันในหลายจังหวัดตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2560 การศึกษานี้ ...
    • การประเมินการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองของไทยด้วยแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับที่สี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อ เพื่อแก้ไขปัญหาการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ จึงมีการคิดค้นและสนับสนุนให้มีการปฏิบัติในประเทศไทย ซึ่งได้เน้นความสำคัญของทั้งสังคม ...
    • ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานกับภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์ในช่วงการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 

      ดาวรุ่ง คำวงศ์; Daoroong Komwong; จีระเกียรติ ประสานธนกุล; Jirakeat Prasanthanakul; มุทิตา พนาสถิตย์; Muthita Phanasathit; ธนิยะ วงศ์วาร; Taniya Wongwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      การวิจัยแบบตัดขวาง ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของภาวะสุขภาพจิต พฤติกรรมป้องกันเพื่อลดโอกาสติดเชื้อ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับงานและภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรทางการแพทย์สังก ...
    • ประเด็นเชิงนโยบาย การวิจัยที่สำคัญเร่งด่วนและข้อเสนอแนะเบื้องต้นเกี่ยวกับนโยบายกัญชาทางการแพทย์ในประเทศไทย 

      บัณฑิต ศรไพศาล; Bundit Sornpaisarn; วรานิษฐ์ ลำใย; Waranist Lamyai; เชษฐ รัชดาพรรณาธิกุล; Chet Ratchadapunnathikul; ชัยสิริ อังกุระวรานนท์; Chaisiri Angkurawaranon; นิศาชล เดชเกรียงไกรกุล; Nisachol Dejkriengkraikul; Rehm, Jürgen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ประเทศไทยมีระบบกัญชาทางการแพทย์เป็นครั้งแรกที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคำถามเชิงนโยบายและวิจัยที่สำคัญเพื่อการติดตามและประเมินผลนโยบายกัญชาทา ...
    • ผลตอบแทนทางสังคมของการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง: กรณีศึกษาตำบลสะอาด อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; นวลจันทร์ แสนกอง; Nuanchan Sankong; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; นพวรรณ ยุติพันธ์; Noppawan Yutipan; ปิยรักษ์ รัตนปกรณ์; Piyarak Rattanapakorn; มนเศรษฐ ภูวรกิจ; Manasate Phuworakij (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 แล้ว และในปี พ.ศ. 2559 รัฐบาลได้มีนโยบายขับเคลื่อนระบบการดูแลระยะยาว (long-term care: LTC) ซึ่งตำบลสะอาด อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เป็นตำบลหนึ ...
    • ลักษณะความเหลื่อมล้ำในแต่ละมิติของลูกบาศก์หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ข้อค้นพบจากข้อมูลสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน พ.ศ. 2563 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ประเทศไทยสามารถบรรลุเป้าหมายในการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (universal health coverage: UHC) แต่ยังมีความท้าทายที่สำคัญด้านความไม่เสมอภาคของผู้ใช้บริการระบบสาธารณสุข ได้แก่ ความคุ้มครองภาระค่าใช้จ่ายที่ไม่เท่าเทีย ...
    • ข่าวสารจากโรคระบาดทั่วโลกสู่โรคประจำถิ่น 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      Rothkopf ได้สร้างคำขึ้นมาใหม่จาก information สนธิกับ epidemic เป็น infodemic เพื่ออธิบายปรากฏการณ์ปัจจัยแทรกซ้อนที่ควบคุมโรคได้ยาก โดยองค์การอนามัยโลกเตือนให้ระวัง infodemic ในยุคความปรกติใหม่ มีคำที่เกี่ยวข้องทั้ง ...
    • การวิจัยเพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการจำหน่ายผู้ป่วยโรคโควิด-19 กลับไปในชุมชน 

      วิทย์ วิชัยดิษฐ; Wit Wichaidit; วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong; ศรัญญู ชูศรี; Sarunyou Chusri; สมนรพรรษ สุระสมบัติพัฒนา; Smonrapat Surasombatpattana; ธรรมสินธุ์ อิงวิยะ; Thammasin Ingviya; ธนภร หอทิวากุล; Thanaporn Hortiwakul; ก้องภพ เจริญญาณพันธ์; Kongpop Charoenyanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      หลักการและวัตถุประสงค์ ประเทศไทยประสบปัญหาการระบาดของโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) มาตั้งแต่ช่วงกลางเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน ผู้ป่วยโควิด-19 ที่มีอาการจะต้อง admit เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นผู้ป่วยใน ...
    • ประสิทธิผลของวัคซีนโควิด-19 ในประเทศไทย: การศึกษาในสถานการณ์จริง (ปีที่ 1) 

      ภาสกร ศรีทิพย์สุโข; Paskorn Sritipsukho; บุญยิ่ง ศิริบำรุงวงศ์; Boonying Siribumrungwong; พิชญ ตันติยวรงค์; Pichaya Tantiyavarong; อารยา ศรัทธาพุทธ; Araya Satdhabudha; พรรณศจี ดำรงเลิศ; Pansachee Damronglerd; พีร์ จารุอำพรพรรณ; Peera Jaru-ampornpan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ข้อมูลประสิทธิผลของวัคซีนในสถานการณ์จริงในการป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ช่วงการระบาดด้วยสายพันธุ์เดลต้าและโอไมครอนด้วยวัคซีนโควิด-19 มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19) ...
    • การบริหารจัดการทันตแพทย์เฉพาะทาง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบบริการทันตกรรมในระดับเขตสุขภาพ 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen; เทอดศักดิ์ อุตศรี; Terdsak Utasri; ธนศักดิ์ ถัมภ์บรรฑุ; Thanasak Thumbuntu (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12-11)
      ตั้งแต่มีระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระบบบริการทันตกรรมก็ให้ความสำคัญที่การเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการเป็นสำคัญ ต่อมาเมื่อกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service plan) สาขาสุขภาพช่องปากก็ยึดอัตราการเข้าถึงบ ...