สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI): Recent submissions
Now showing items 2921-2940 of 5542
-
วิจัยจากงานประจำ: ทบทวนวรรณกรรมเชิงประวัติศาสตร์
(สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2554-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่องวิจัยจากงานประจำ: ทบทวนวรรณกรรมจากประวัติศาสตร์ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 11.00-12.00 น. ณ Royal jubilee อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี -
การสังเคราะห์บทบาทกระทรวงสาธารณสุขในด้านระบบควบคุมและป้องกันโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06) -
การสังเคราะห์บทบาทกระทรวงสาธารณสุขในระบบยาและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)สถานการณ์การคุ้มครองผู้บริโภคในประเทศไทย มีรายงานว่าผู้บริโภคมีความเสี่ยงสูงในการบริโภคผลิตภัณฑ์ และบริการโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ประกอบกับการดำเนินงานทางด้านการคุ้มครองผู้บริโภคของภาคราชการยังไม่เต็มที่ ... -
การสังเคราะห์บทบาทกระทรวงสาธารณสุขในด้านระบบบริการสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06) -
CASE REPORT/RECORD FORM (CRF)
(คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, 2554-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง R2R clinic: การสร้างแบบบันทึกข้อมูล วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-14.30 น. ณ Jupiter13 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี -
การวิเคราะห์สถานการณ์และศักยภาพของการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพของประเทศไทยตามกรอบยุทธศาสตร์ที่ 1-4 ของ Global Strategy and Plan of Action on Public Health, Innovation and Intellectual Property
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-07-23)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์การวิจัยและพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์สุขภาพในประเทศไทยเพื่อประกอบการจัดทำยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับสาธารณสุข นวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญาให้สอดคล้องกับกลุ่มโ ... -
ลักษณะสำคัญของการวิจัย R2R และ 10 ไม่ R2R
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06) -
พลังกลมเกลียว ณ ตำบลบ้านใหม่ อำเภอพระนครศรีอยุธยา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06) -
ระบบการรายงานอาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาของผู้ป่วยโดยตรง : การดำเนินงานนานาชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)ปัจจุบัน ในระบบการเฝ้าระวังติดตามความปลอดภัยจากการใช้ยานั้น ได้อาศัยความร่วมมือในการรายงานอาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาโดยบุคลากรทางสุขภาพเป็นหลัก ซึ่งมักพบปัญหาการรายงานในอัตราที่ต่ำกว่าความเป็นจริง จึงมีการริเริ่มให ... -
การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย : ผลจากการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2550
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)วัตถุประสงค์: การสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุราของประชากร (สพบส.) ดำเนินการสำรวจโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติทุกๆ 3-4 ปี ในปี 2550 การสำรวจนี้ได้เพิ่มคำถามสำคัญสำหรับนโยบายแอลกอฮอล์ ได้แก่ ปริมาณการดื่ม การดื่มอย่างหนัก ... -
พฤติกรรมการคุกคามทางเพศในกลุ่มเด็กและเยาวชน ภายใต้อิทธิพลการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์และแนวโน้มของคดีเกี่ยวกับเพศที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และอธิบายลักษณะของพฤติกรรมการคุกคามทางเพศภายใต้อิทธิพลของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเด็กและเย ... -
ประสิทธิผลของรูปแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบเข้มข้นสำหรับผู้ที่มีภาวะโรคเบาหวานชนิดที่ 2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา โรคเบาหวานมีแนวโน้มในการเป็นปัญหาสำคัญขึ้นเรื่อยๆในประเทศไทย ปัจจุบันมีผลการศึกษาวิจัยในต่างประเทศระบุอย่างชัดเจนว่า มาตรการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานในกลุ่มเสี่ยงสูงลงได้ร้อยละ ... -
ความผิดปกติของดัชนีมวลกาย ระดับไขมันในเลือดและการประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบของเจ้าหน้าที่ศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพฯ ที่มารับการตรวจสุขภาพประจำปี ในปี พ.ศ. 2553
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความผิดปกติของดัชนีมวลกาย ระดับไขมันในเลือด และการประเมินความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (Ten years risk of Coronary heart disease, Framingham Risk Score) ของเจ้าหน้าที่ศูนย์อนามัยที่ ... -
การได้รับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 กับการฟ้องร้องคดีแพ่ง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)หลังจากพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มีผลบังคับใช้ จำนวนผู้ขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นตามมาตรา 41 มีมากขึ้นทุกปี ซึ่งยังเป็นที่สงสัยว่าอัตราการฟ้องร้องลดลงหรือไม่ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษา ... -
การประเมินผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในกลุ่มผู้มีรายได้น้อย โดยใช้หลักธรรมาภิบาล
(Health Systems Research Institute, 2554-06)การศึกษานี้มุ่งเน้นการประเมินผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในกลุ่มผู้มีรายได้น้อย โดยใช้หลักสี่ประการของหลักธรรมาภิบาลเป็นตัวชี้วัด ผู้ศึกษาได้สัมภาษณ์ผู้วางแผนและนโยบายระบบสาธารณสุขและตัวแทนผู้ป่วยที่ใช้สิทธิในหลักป ... -
การใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)ปัญหาการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุเป็นปัญหาสำคัญที่ได้รับความสนใจจากหลายประเทศทั่วโลกแต่ในประเทศไทยยังไม่มีการศึกษามากนัก การศึกษานี้ได้สำรวจการใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูงในผู้สูงอายุในตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐมโดยใช ... -
การสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยโรคท้องร่วงเฉียบพลันที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว จังหวัดน่าน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)โรคท้องร่วงเฉียบพลันเป็นโรคที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ ถึงแม้ว่าสาเหตุส่วนใหญ่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียแต่ผู้ป่วยก็มักจะได้รับยาปฏิชีวนะ วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้คือเพื่อศึกษาการสั่งใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยโรคท้องร ... -
ค่าใช้จ่ายที่พยากรณ์จากการใช้ยาราคาแพงของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ : เปรียบเทียบกับหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)ยาซึ่งเป็นส่วนสำคัญของการรักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกมีแบบแผนการใช้ในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการที่แตกต่างจากระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า การศึกษานี้วิเคราะห์ข้อมูลอนุกรมเวลา 57 เดือน ระหว่างปี 2546 – 2550 และพยากรณ์การส ... -
ศักยภาพการประหยัดค่าใช้จ่ายจากการกำหนดอัตราเบิกจ่ายค่ายาผู้ป่วยนอกสำหรับสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการปี 2553
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)ค่าใช้จ่ายด้านยาสำหรับผู้ป่วยนอกในระบบจ่ายตรงของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการยังคงสูงอย่างต่อเนื่องในปี 2552-2553 เนื่องจากการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติในสัดส่วนที่มาก แม้โรงพยาบาลหลายแห่งจะมีการดำเนินมาตรการควบคุมค่าใช้จ่าย ... -
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการกับการใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)เป็นเวลากว่า 2 ทศวรรษแล้วที่ค่าใช้จ่ายของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการซึ่งใช้ระบบการจ่ายเงินแบบปลายเปิดเติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงหลังที่ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอกสูงกว่าผู้ป่วยใน การวิเคราะ ...