Now showing items 319-330 of 330

    • แนวทางการดำเนินการจัดตั้งและการทำหน้าที่ของคณะกรรมการกำกับดูแลข้อมูลและความปลอดภัยหรือดีเอสเอ็มบี 

      วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-04)
      หลักจริยธรรมสำหรับการวิจัยในมนุษย์ข้อหนึ่งคือหลักความปลอดภัย ซึ่งแสดงออกโดยจะต้องมีการประเมินความเสี่ยงเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ (risk-benefit assessment) ตั้งแต่ก่อนเริ่มการศึกษาวิจัยและตลอดระยะเวลาการศึกษาวิจัย ...
    • แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ของสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมกับองค์การอนามัยโลก 

      วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)
      หลักจริยธรรมสำหรับการวิจัยในมนุษย์ข้อหนึ่งคือหลักความปลอดภัย ซึ่งแสดงออกโดยจะต้องมีการประเมินความเสี่ยงเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ ตั้งแต่ก่อนเริ่มการศึกษาวิจัยและตลอดระยะเวลาการศึกษาวิจัยจนการศึกษาวิจัยเสร็จสิ้น ...
    • แนวโน้มการใช้ยาตามนโยบายบัญชียาหลักแห่งชาติของโรงพยาบาลในปัจจุบัน 

      วรนัดดา ศรีสุพรรณ; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      บัญชียาหลักแห่งชาติฉบับ พ.ศ.2542 มีจำนวนตัวยา 634 รายการ การศึกษานี้วิเคราะห์แนวโน้มการใช้ยาของโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งพบว่า ในปีงบประมาณ 2545 โรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็กและใหญ่ และโรงพยาบาลศูนย์ที่เป็นแล ...
    • แบบแผนการคลอดบุตรของหญิงไทยในรอบ 12 ปี (พ.ศ. 2533–2544) 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สัญญา ศรีรัตนะ; ปรัศนี ทิพยโสตถิ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจแบบแผนการคลอดบุตรของหญิงไทยในช่วง 12 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2533-2544 โดยส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังโรงพยาบาลรัฐและเอกชนทั่วประเทศจำนวนสองครั้งในปี พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2545 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบ ...
    • แบบแผนการเขียนองค์การอนามัยโลก 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2555)
      หนังสือแนะนำการเขียนเอกสารตามแบบฉบับขององค์การอนามัยโลก แปลจากหน้งสือชื่อเรื่อง WHO Style Guide
    • แผนยุทธศาสตร์ความร่วมมือพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ พ.ศ. 2550-2554 

      สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2550)
      ในระยะสี่ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยได้พัฒนาให้มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่มุ่งหวังให้เกิดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ประชาชนทุกคนเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมไม่ว่าจะรวยหรือจน และในระบบหลักประกันสุขภาพนี้ได้ให้ความสำคัญต่อหน่วยบ ...
    • แพทย์ลาออก เขาเป็นใคร 

      ทักษพล ธรรมรังสี (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาลักษณะข้อมูลพื้นฐานของแพทย์ที่ลาออกจากหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ในปี ๒๕๔๔-๒๕๔๕ โดยสืบค้นข้อมูลจากแพทย์สภาและกระทรวงสาธารณสุขในช่วงปี ๒๕๔๖ ได้จำนวน ๗๔๓ ราย พบว่าแพทย์ที่ลาอ ...
    • โฉนดชุมชน 

      สกลฤทธิ์ จันทร์พุ่ม (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)
      โฉนดชุมชนกลายเป็นคำพูดติดปากที่มักถูกกล่าวอ้างถึงในระยะไม่กี่เดือนที่ผ่านมาว่าเป็นแนวทางสำคัญในการแก้ปัญหา การจัดการที่ดินในประเทศไทยและถือเป็นนโยบายที่จับต้องได้ของรัฐบาลนายก อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หลังจากที่มีการ ...
    • โรคมะเร็งที่พบบ่อยในประเทศไทย 

      เครือข่ายข่าวสารโรคมะเร็งไทย (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548)
      ประเทศไทย ได้ใช้ระบบการเฝ้าระวังโรคมะเร็งโดยใช้ทะเบียนมะเร็งประชากรในแต่ละภาคของประเทศตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 เป็นต้นมา ด้วยการสนับสนุนขององค์กรวิจัยโรคมะเร็งนานาชาติ (International Agency for Research on Cancer: IARC) ...
    • โรคเบาหวานในคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-10)
    • ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย การเจ็บป่วยราคาแพง: ทางออกคืออะไร 

      วิชช์ เกษมทรัพย์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สุวรรณา มูเก็ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ผู้วิจัยเห็นว่าหลักฐานจากการศึกษาที่มีอยู่ เราสามารถระบุได้ว่าระบบการรักษาทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายเป็นบริการที่มีราคาแพง และมีความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสูง โดยผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มผู้มีฐานะยากจ ...