Browsing หน่วยงานเครือข่าย สวรส. - HSRI Alliance by Author "วิชัย โชควิวัฒน"
Now showing items 1-7 of 7
-
บุหรี่และสุรา : ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ระหว่างครัวเรือนไทยที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน
วิชัย โชควิวัฒน; สุพล ลิมวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)การศึกษาภาระโรคในประเทศไทยเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2542 กับ 2547 พบว่าใน พ.ศ. 2547 ภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล์และบุหรี่เพิ่มมากขึ้น และเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับสอง และสาม รองจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ... -
ปฏิญญาเฮลซิงกิของแพทยสมาคมโลก(ค.ศ.2000)หลักการจริยธรรมสำหรับการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์
วิชัย โชควิวัฒน; สุชาติ จองประเสริฐ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-03)ปฏิญญาเฮลซิงกิเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดทั่วโลก นับตั้งแต่ประกาศครั้งแรกโดยสมัชชาของแพทยสภาคมโลกที่กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2507 ปฏิญญาดังกล่างมีการปรับปรุ ... -
มาตรฐานและแนวทางการดำเนินการสำหรับการทบทวนพิจารณาจริยธรรมการวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556)เอกสารนี้จัดทำขึ้นสำหรับบุคคลและองค์กร ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์ ได้แก่ การศึกษาวิจัยทางชีวเวชศาสตร์, พฤติกรรมศาสตร์, สังคมศาสตร์ และการศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา เอกสารนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้คำแน ... -
รายงานเบลมองต์
วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-06)รายงานเบลมองต์เป็นส่วนหนึ่งของรายงานของคณะกรรมการชุดหนึ่งที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ของสหรัฐอเมริกา ที่กำหนดให้ต้องมีการจัดตั้งคณะกรรมการแห่งชาติเพื่อการคุ้มครองอาสาสมัครในการวิจัยทางชีวเวชศาสตร์แ ... -
แนวทางการดำเนินการจัดตั้งและการทำหน้าที่ของคณะกรรมการกำกับดูแลข้อมูลและความปลอดภัยหรือดีเอสเอ็มบี
วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-04)หลักจริยธรรมสำหรับการวิจัยในมนุษย์ข้อหนึ่งคือหลักความปลอดภัย ซึ่งแสดงออกโดยจะต้องมีการประเมินความเสี่ยงเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ (risk-benefit assessment) ตั้งแต่ก่อนเริ่มการศึกษาวิจัยและตลอดระยะเวลาการศึกษาวิจัย ... -
แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ของสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมกับองค์การอนามัยโลก
วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)หลักจริยธรรมสำหรับการวิจัยในมนุษย์ข้อหนึ่งคือหลักความปลอดภัย ซึ่งแสดงออกโดยจะต้องมีการประเมินความเสี่ยงเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ ตั้งแต่ก่อนเริ่มการศึกษาวิจัยและตลอดระยะเวลาการศึกษาวิจัยจนการศึกษาวิจัยเสร็จสิ้น ... -
แบบแผนการเขียนองค์การอนามัยโลก
วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2555)หนังสือแนะนำการเขียนเอกสารตามแบบฉบับขององค์การอนามัยโลก แปลจากหน้งสือชื่อเรื่อง WHO Style Guide