หน่วยงานเครือข่าย สวรส. - HSRI Alliance: ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 221-240 จาก 330
-
การเกิดเหตุการณ์ Pandemic ของโรคติดต่อที่มีความสำคัญอย่างต่อเนื่องและซ้ำซากจนเป็นภาระแก่ระบบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
การเปลี่ยนแปลงของระบบอภิบาลและการบริหารหลักประกันสุขภาพภาครัฐโดยให้ภาคเอกชนเข้ามาดำเนินการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ปัจจัยผลักดันระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจากสถานการณ์และการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
โรงพยาบาลต่างๆ ให้ความสำคัญกับระบบการบริหารจัดการ และปรับตัวเพื่อประสิทธิภาพขององค์กร รองรับการแข่งขันและเพื่อความอยู่รอดทางการเงินมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นองค์การมหาชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
สถานการณ์และแนวโน้มในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางการแพทย์กับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ยั่งยืน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ความต้องการและความคาดหวังของประชาชนผู้รับบริการที่ไม่สมดุลกับศักยภาพของระบบบริการ ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับผู้ให้บริการและทำให้ปัญหาการร้องเรียนผ่านกลไกต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องขยายตัวขึ้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
นโยบายการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและพรบ.สุขภาพแห่งชาติกับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
ความท้าทายที่เป็นปัจจัยผลักดันด้านทรัพยากรบุคคลในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
งบประมาณของรัฐเพื่อหลักประกันสุขภาพที่อาจถูกควบคุมเข้มงวดมากขึ้นไม่เพียงพอต่อความต้องการในระบบตามกรอบสิทธิประโยชน์ที่กำหนดและระดับของคุณภาพที่คาดหวัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าส่งเสริมการแข่งขันในระบบตลาด(Competitive market) หรือระบบการบริการภายใต้การจัดการภาครัฐเพื่อสังคม (Managed or socialized system)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
สิทธิประโยชน์ภาคบังคับที่เท่าเทียม (Compulsory Equitable Benefit) หรือสิทธิประโยชน์ที่ให้ทางเลือกผู้บริโภคและเก็บส่วนร่วมจ่าย (Consumer Choice with Cost Sharing)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพื่อความครอบคลุมกว้างขวางตั้งแต่ความเจ็บป่วยเล็กน้อย (First-Baht Primary Care) หรือความครอบคลุมเฉพาะความเจ็บป่วยที่มีค่าใช้จ่ายสูง (Catastrophic Tertiary Care)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามุ่งเน้นสิทธิเพื่อประกันโอกาสในการเข้าถึงบริการที่เป็นธรรม (Equitable access) หรือมุ่งการสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือผู้ยากไร้ (Helping the poor)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ (Quality) และได้มาตรฐาน หรือเพื่อประกันการเข้าถึงบริการสุขภาพขั้นพื้นฐาน โดยมีเป้าหมายเพื่อควบคุมต้นทุนค่าใช้จ่าย (Cost containment) ของระบบบริการสุขภาพ
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-05) -
การตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนโดยระบบสุขภาพไทย : ความคิดเห็นของบุคลากรสุขภาพ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)องค์กรอนามัยโลกระบุว่าระบบสุขภาพที่ดีควรมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาระดับและความเสมอภาคของสถานะสุขภาพรวมทั้งการตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนกลุ่มต่างๆตลอดจนสร้างความเสมอภาคในระบบการคลังด้านสุขภาพ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประส ... -
ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย - คำถามวิจัยที่สำคัญ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าดำเนินการเต็มพื้นที่ในปีงบประมาณ ๒๕๔๕ เนื่องจากเป็นโครงการระดับชาติ การกำหนดและปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อให้โครงการฯบรรลุวัตถุประสงค์มีความจำเป็นจะต้องอาศัยข้อมูลทางวิชาการและงานวิจัยที่สำคัญ ๖ ด้าน ... -
วิธีวัดคุณภาพชีวิต สำหรับผู้ป่วยต้อกระจกในภูมิภาค
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาวิจัยที่มุ่งเน้นไปถึงการศึกษาถึงลักษณะของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่ว่าจะเป็นจุดมุ่งหมาย จุดยืน ความต้องการ ความสนใจ องค์ประกอบกลุ่ม ... -
แบบแผนการคลอดบุตรของหญิงไทยในรอบ 12 ปี (พ.ศ. 2533–2544)
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจแบบแผนการคลอดบุตรของหญิงไทยในช่วง 12 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2533-2544 โดยส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังโรงพยาบาลรัฐและเอกชนทั่วประเทศจำนวนสองครั้งในปี พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2545 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบ ... -
ผลดี ผลเสีย การฝากครรภ์พิเศษในโรงพยาบาลรัฐ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นจากการทำเวชปฏิบัติของสูติแพทย์ฝากครรภ์พิเศษทั้งในมุมมองของผู้ใช้และแพทย์ผู้ให้บริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณภาพและความเชื่อมั่นต่อบริการของหญิงที่ไม่ฝากครรภ์พิเศษ ...