หน่วยงานเครือข่าย สวรส. - HSRI Alliance: ชิ้นงานเข้าใหม่
แสดงรายการ 281-300 จาก 330
-
อัตราเหมาจ่ายรายหัวปีงบประมาณ 2548 การปรับวิธีประมาณการครั้งใหญ่
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคำนวณอัตราเหมาจ่ายปีงบประมาณ 2548 โดยใช้หลักการคำนวณเช่นเดียวกับปี 2545-2547 แต่ปรับห้วงเวลาของฐานข้อมูลอัตราการใช้บริการและต้นทุนให้เป็นปี 2548 ในการศึกษาอัตราการใช้บริการแบบผู้ป่วยนอก ... -
แพทย์ลาออก เขาเป็นใคร
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาลักษณะข้อมูลพื้นฐานของแพทย์ที่ลาออกจากหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ในปี ๒๕๔๔-๒๕๔๕ โดยสืบค้นข้อมูลจากแพทย์สภาและกระทรวงสาธารณสุขในช่วงปี ๒๕๔๖ ได้จำนวน ๗๔๓ ราย พบว่าแพทย์ที่ลาอ ... -
ความเท่าเทียมกันของการเข้าถึงบริการแมมโมแกรมตามประเภทของระบบประกันสุขภาพผู้ใช้บริการในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)Objective : To describe the characteristics of mammography users and equal access to mammography services by beneficiaries of different insurance schemes. Setting : Mammography units of nine public hospitals, mamely the ... -
ความซับซ้อนของระบบสุขภาพ: ความเข้าใจสำหรับการปฏิรูประบบสุขภาพ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547) -
การสำรวจอนามัยและสวัสดิการของประชาชนไทย พ.ศ.2546: กรณีการรับบริการทันตกรรม
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ คือศึกษาการรับบริการ ความคุ้มครองสุขภาพในการรับบริการและค่าใช้จ่ายในการรับบริการด้านทันตกรรมของประชากรไทยจำแนกตามกลุ่มอายุ สวัสดิการด้านการรักษาพยาบาล เขตที่อาศัยและลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมของครัวเรือนไทย ... -
อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 1 เรื่องการเจ็บป่วย การใช้บริการสุขภาพ และการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพของคนไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)ข้อมูลด้านอนามัยและสวัสดิการที่ทันสมัยเพื่อใช้ในการประเมินผลโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ขอความร่วมมือจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ให้ดำเนินการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ขึ้น ... -
การจัดลำดับปัญหาทางสุขภาพของประชากรไทยในปี 2542 โดยการใช้เครื่องชี้วัดภาระโรค
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)การศึกษานี้เป็นการวิเคราะห์ความสูญเสียด้านสุขภาพโดยใช้ดัชนีปีสุขภาวะที่สุญเสียไปจากการตายก่อนวัยอันควร การเจ็บป่วยและพิการ (Disability - Adjusted Life Year: DALY) เพื่อนำมาใช้ในการจัดลำดับ ปัญหาทางสุขภาพของคนไทย ... -
ระบบการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)กระทรวงสาธารณสุขโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ริเริ่มพัฒนางานติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยามาตั้งแต่ พ.ศ. 2526 โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะรวบรวมและวิเตราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงและอันตรายจากการใช้ยาที่เกิดขึ้นในประเทศ ... -
พรมแดนแห่งความรู้: หนึ่งทศวรรษของการประเมินการใช้ยาในโรงพยาบาล
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวน สังเคราะห์องค์ความรู้และข้อค้นพบต่างๆ เกี่ยวกับการประเมินการใช้ยาเชิงคุณภาพในประเทศไทยใน 10 ปีที่ผ่านมาโดยการทบทวนวิทยานิพนธ์และรายงานการวิจัยที่ตีพิมพ์สรุปการประเมินการใช้ยาเป้าหมาย 5 ... -
ต้นทุนการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม (แมมโมแกรม) ในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อหาต้นทุนการตรวจหามะเร็งเต้านมด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม (แมมโมแกรม) ทั้งส่วนผู้จัดบริการและผู้รับบริการ โดยเก็บข้อมูลต้นทุนผู้จัดบริการระหว่างเดือนกรกฎาคม 2545 ถึงเมษายน 2546 ใน 9 โรงพยาบาลตัวอย่าง ... -
การดำเนินงานของโรงพยาบาลต่อการใช้บัญชียาหลักแห่งชาติ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)บทความนี้นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงานในปัจจุบันตามหลักการและเงื่อนไขที่กำหนดในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดโรงพยาบาล 19 แห่ง รวมทั้งความคิดเห็นของแพทย์เฉพาะทางใน 5 สาขาหลัก ... -
แนวโน้มการใช้ยาตามนโยบายบัญชียาหลักแห่งชาติของโรงพยาบาลในปัจจุบัน
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)บัญชียาหลักแห่งชาติฉบับ พ.ศ.2542 มีจำนวนตัวยา 634 รายการ การศึกษานี้วิเคราะห์แนวโน้มการใช้ยาของโรงพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งพบว่า ในปีงบประมาณ 2545 โรงพยาบาลชุมชนโรงพยาบาลทั่วไปขนาดเล็กและใหญ่ และโรงพยาบาลศูนย์ที่เป็นแล ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการฟอกเลือดกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การบำบัดทดแทนไตเป็นการรักษาที่มีค่าใช้จ่ายสูงซึ่งไม่ครอบคลุมโดยชุดสิทธิประโยชน์ในโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปัจจุบัน การประเมินผลทางเศรษฐศาสตร์เปรียบเทียบระหว่างการฟอกเลือดกับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องจะเป็นข้อ ... -
การลาออกของแพทย์
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546) -
ต้นทุน-ผลได้ ของการควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในประเทศไทย โดยเน้นการควบคุมในสุนัข
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)โรคพิษสุนัขบ้าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากยังไม่มีทางรักษาโรคนี้ ผู้ป่วยต้องเสียชีวิตทุกราย โดยมีสุนัขเป็นต้นเหตุที่สำคัญ องค์การอนามัยโลกให้คำแนะนำว่า หากสามารถฉีดวัคซีนให้แก่สุนัขได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ... -
การวิเคราะห์และกำหนดอัตราเหมาจ่ายในโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสำหรับ ปีงบประมาณ 2547
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การจัดทำอัตราเหมาจ่ายรายหัวโครงการหลักประกันสุขภาพถ้านหน้าครั้งแรกในปีงบประมาณ 2545 คิดเป็น 1,202 บาทต่อคนต่อปี โดยใช้ฐานข้อมูลสองชุดคือ อัตราเจ็บป่วยและต้นทุนค่ารักษาพยาบาลของสถานพยาบาล การคำนวณครั้งที่สอง ในปีงบประมาณ ... -
การจัดการความรับผิดจากการรักษาทางการแพทย์
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคม และการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผู้ป่วย ทำให้อัตราการฟ้องร้องแพทย์มากขึ้นในกรณีความผิดพลาดทางการแพทย์ (medical error) จึงจำเป็นต้องเข้าใจกลไกในการบริหารจัดการ การแก้ไขปัญหา ... -
การสำรวจทัศนคติและความต้องการบริจาคอวัยวะเพื่อข้อเสนอในเชิงนโยบาย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกว่าทัศนคติของประชาชนต่อการบริจาคอวัยวะส่งผลต่อจำนวนผู้บริจาคอวัยวะ ในการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจทัศนคติของประชาชนต่อการบริจาคอวัยวะโดยการสัมภาษณ์ประชาชนทั่วไปในเขตอำเภอเมืองขอนแก่นและผ ... -
ตอบข้อสังเกตจุดอ่อนของที่มา 1,202 บาทต่อคนต่อปี ของนพ.ศุภสิทธิ์ พรรณารุโนทัยและคณะ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
การทำนายโอกาสของการผ่าตัดคลอดบุตรสำหรับหญิงไทย กรณีศึกษาจากโรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป 29 แห่ง
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาสมการทำนายโอกาสของการคลอดบุตรด้วยวิธีการผ่าตัดหน้าท้อง เพื่อทราบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางด้านมารดา ทารก ปัจจัยด้านสูติแพทย์ และปัจจัยด้านโรงพยาบาลกับโอกาสของการผ่าตัดคลอดบุตร ...