• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • หน่วยงานเครือข่าย สวรส. - HSRI Alliance
  • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • หน่วยงานเครือข่าย สวรส. - HSRI Alliance
  • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

ผู้มีรายได้น้อย กับการเข้าถึงบริการทดแทนไต: วิเคราะห์และข้อเสนอเชิงนโยบาย

วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; สุวรรณา มูเก็ม;
วันที่: 2543
บทคัดย่อ
ในประเทศไทย 76.7% ของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End-stage Renal Disease, ESRD) ไม่สามารถเข้าถึงบริการทดแทนไต เพราะเป็นบริการที่มีราคาแพงจนอาจทำให้ผู้ป่วยล้มละลาย (Catastrophic illiness) สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยรายงานว่ามีผู้ป่วย ESRD ที่สามารถเข้าถึงบริการประมาณ 54.4 รายต่อล้านประชากร ในจำนวนนี้กว่าครึ่งในโรงพยาบาลรัฐ เป็นผู้ที่มีสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ สามารถใช้บริการฟอกเลือด การล้างช่องท้อง และเปลี่ยนไตได้ ผู้ประกันตนตามระบบประกันสังคมได้รับการคุ้มครองเฉพาะการฟอกเลือด 2 ครั้งต่อสัปดาห์และเบิกค่ารักษาได้ไม่เกินครั้งละ 1,500 บาท ทั้ง 2 ระบบครอบคลุมประชาชนที่มีสิทธิประมาณ 13 ล้านคน (7 ล้านคนในสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ และ 5 ล้านคนจากประกันสังคม) สำหรับผู้ป่วยที่ไม่ได้มีสิทธิ์ในสวัสดิการดังกล่าวก็ต้องหาทางช่วยเหลือตัวเอง ซึ่งส่วนใหญ่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และต้องเสียชีวิตในที่สุด ประมาณการความชุกของโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายทั้งที่เข้าถึง และเข้าไม่ถึงบริการทดแทนใดในประเทศไทยไว้ที่ 200 รายต่อล้านประชากร หรือประมาณ 12,000 คน จะมีผู้ป่วยไตวายที่มีระบบสวัสดิการคุ้มครอง (13 ล้านคน) ประมาณ 2,600 ราย ที่ได้รับการคุ้มครองบริการทดแทนไต โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การฟอกเลือด ประชากรอย่างน้อยอีกประมาณ 9,400 ราย ซึ่งอยู่ภายใต้ คณะกรรมมาธิการสาธารณสุข สภาผู้แทนราษฎร ขอให้คณะกรรมการ กสปร.กลาง พิจารณาให้ผู้ป่วย สปร. ESRD เข้าถึงบริการฟอกเลือดได้ตามความเหมาะสม
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: 2000_DMJ7_ผู้มีรา ...
ขนาด: 581.3Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 4
ปีงบประมาณนี้: 115
ปีพุทธศักราชนี้: 53
รวมทั้งหมด: 1,747
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ [161]

    International Health Policy Program Foundation (IHPP)


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV