การวิเคราะห์เชิงนโยบายของการรักษาทดแทนไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า
dc.contributor.author | วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร | en_US |
dc.contributor.author | ยศ ตีระวัฒนานนท์ | en_US |
dc.contributor.author | วิชช์ เกษมทรัพย์ | en_US |
dc.contributor.author | สุวรรณา มูเก็ม | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-09-27T11:00:21Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-15T08:52:14Z | |
dc.date.available | 2008-09-27T11:00:21Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-15T08:52:14Z | |
dc.date.issued | 2544 | en_US |
dc.identifier.citation | แพทยสภาสาร. 30,3(2544) : 215-226 | en_US |
dc.identifier.other | DMJ12 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/169 | en_US |
dc.description.abstract | บทความนี้เป็นการนำเสนอข้อมูลที่ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์เพื่อให้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงการวางนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า หรือที่เรียกกันจนติดปากว่านโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคนั้น ซึ่งภายหลังการประชุมที่มีพณฯนายกรัฐมนตรีเป็นประธานเมื่อวันเสาร์ที่ 17 มีนาคม ที่ผ่านมา มีมติเบื้องต้นเสนอให้สิทธิประโยชน์ในโครงการดังกล่าวยังไม่รวมการรักษาทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังในระยะสุดท้ายและการให้ยาด้านไวรัสสำหรับผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวี ยกเว้นการให้ยาสำหรับการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อจากมารดาสู่ทารกสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอ็ชไอวี ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการอยู่แล้ว โดยระหว่างนี้ให้ดำเนินการศึกษาความเป็นไปได้ และความคุ้มทุนของการเพิ่มการครอบคลุมสำหรับสองโรคที่กล่าวมา รวมทั้งให้มีการจัดเวทีสำหรับชี้แจงและรับฟังความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ไม่ว่าผู้ป่วยและญาติ แพทย์และเจ้าหน้าที่ผู้ให้การรักษา ผู้บริหาร และนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นครั้งแรกที่มีการศึกษาถึงภาระด้านการคลังสาธารณสุขที่จะเกิดขึ้นหากมีการให้บริการทดแทนไตแก่ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย ผู้ศึกษาจึงเห็นว่าการนำข้อมูลเหล่านี้มาเผยแพร่น่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านในการประยุกต์ใช้รูปแบบหรือวิธีศึกษาเพื่อนำข้อมูลทางวิชาการมาใช้สำหรับการตัดสินในเชิงนโยบายสาธารณสุขต่อไป | en_US |
dc.format.extent | 654560 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | การวิเคราะห์เชิงนโยบาย | en_US |
dc.subject | หลักประกันสุขภาพ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์เชิงนโยบายของการรักษาทดแทนไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า | en_US |
dc.title.alternative | The policy analysis of renal replacement therapy for end stage renal disease patients in basic care package of universal health insurance in Thailand. | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.subject.keyword | ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย | en_US |
dc.subject.keyword | การรักษาทดแทน | en_US |
dc.subject.keyword | นโยบายหลักประกันสุขภาพ | en_US |
.custom.citation | วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, ยศ ตีระวัฒนานนท์, วิชช์ เกษมทรัพย์ and สุวรรณา มูเก็ม. "การวิเคราะห์เชิงนโยบายของการรักษาทดแทนไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า." 2544. <a href="http://hdl.handle.net/11228/169">http://hdl.handle.net/11228/169</a>. | |
.custom.total_download | 1148 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 13 | |
.custom.downloaded_this_year | 265 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 33 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ [161]
International Health Policy Program Foundation (IHPP)