• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
ดูรายการ 
  •   หน้าแรก
  • หน่วยงานเครือข่าย สวรส. - HSRI Alliance
  • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
  • ดูรายการ
  •   หน้าแรก
  • หน่วยงานเครือข่าย สวรส. - HSRI Alliance
  • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ
  • ดูรายการ
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

การวิเคราะห์เชิงนโยบายของการรักษาทดแทนไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย กรณีการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า

วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิชช์ เกษมทรัพย์; สุวรรณา มูเก็ม;
วันที่: 2544
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการนำเสนอข้อมูลที่ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์เพื่อให้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารระดับสูงการวางนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพแก่ประชาชนถ้วนหน้า หรือที่เรียกกันจนติดปากว่านโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคนั้น ซึ่งภายหลังการประชุมที่มีพณฯนายกรัฐมนตรีเป็นประธานเมื่อวันเสาร์ที่ 17 มีนาคม ที่ผ่านมา มีมติเบื้องต้นเสนอให้สิทธิประโยชน์ในโครงการดังกล่าวยังไม่รวมการรักษาทดแทนไตสำหรับผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังในระยะสุดท้ายและการให้ยาด้านไวรัสสำหรับผู้ติดเชื้อเอ็ชไอวี ยกเว้นการให้ยาสำหรับการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อจากมารดาสู่ทารกสำหรับหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อเอ็ชไอวี ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการอยู่แล้ว โดยระหว่างนี้ให้ดำเนินการศึกษาความเป็นไปได้ และความคุ้มทุนของการเพิ่มการครอบคลุมสำหรับสองโรคที่กล่าวมา รวมทั้งให้มีการจัดเวทีสำหรับชี้แจงและรับฟังความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ไม่ว่าผู้ป่วยและญาติ แพทย์และเจ้าหน้าที่ผู้ให้การรักษา ผู้บริหาร และนักวิชาการที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากเป็นครั้งแรกที่มีการศึกษาถึงภาระด้านการคลังสาธารณสุขที่จะเกิดขึ้นหากมีการให้บริการทดแทนไตแก่ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย ผู้ศึกษาจึงเห็นว่าการนำข้อมูลเหล่านี้มาเผยแพร่น่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านในการประยุกต์ใช้รูปแบบหรือวิธีศึกษาเพื่อนำข้อมูลทางวิชาการมาใช้สำหรับการตัดสินในเชิงนโยบายสาธารณสุขต่อไป
Copyright ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์
ฉบับเต็ม
Thumbnail
ชื่อ: 2001_DMJ12_การวิเ ...
ขนาด: 639.2Kb
รูปแบบ: PDF
ดาวน์โหลด

คู่มือการใช้งาน
(* หากไม่สามารถดาวน์โหลดได้)

จำนวนดาวน์โหลด:
วันนี้: 0
เดือนนี้: 1
ปีงบประมาณนี้: 130
ปีพุทธศักราชนี้: 74
รวมทั้งหมด: 1,245
 

 
 


 
 
แสดงรายการชิ้นงานแบบเต็ม
คอลเล็คชั่น
  • สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ [161]

    International Health Policy Program Foundation (IHPP)


DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV
 

 

เลือกตามประเภท (Browse)

ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [619]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [99]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [125]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [158]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1281]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [228]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [20]

DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
Theme by 
Atmire NV