Browsing สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ by Title
Now showing items 116-135 of 161
-
ต้นทุนดำเนินการของสถานีอนามัย ในจังหวัดสมุทรสาคร ปีงบประมาณ 2542
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)จังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดขนาดเล็กในภาคกลางมี 3 อำเภอ คือ อำเภอเมือง อำเภอบ้านแพ้ว และอำเภอกระทุ่มแบน โรงพยาบาลชุมชนบ้านแพ้วจะเป็นโรงพยาบาลในสังกัดของรัฐแห่งแรกทีออกตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ.2542 ซึ่งจะเปลี่ยนวิธ ... -
ต้นทุนประสิทธิผลและต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาทดแทนไตในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามว่า การเพิ่มสิทธิประโยชนืสำหรับการรักษาทดแทนไตด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมหรือการล้างช่องท้องอย่างต่อเนื่องให้กับผู้ประกันตนในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจะมีความคุ้มค่าหรือไม่ ... -
ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการผ่าตัดด้วยกล้องเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดในการรักษานิ่วในถุงน้ำดี ข้อมูลสำหรับระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)ปัจจุบันสัดส่วนการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีด้วยกล้องในประเทศไทยมีน้อยมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศทั้งนี้เนื่องจากขาดแรงจูงใจในการให้บริการ จึงศึกษาเพื่อหาต้นทุนอรรถประโยชน์ของการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีด้วยกล้องเปรียบเทียบกับการผ่า ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
ทำอะไร อย่างไร ในการประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกครั้งที่ 58
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)องค์การอนามัยโลกจัดให้มีการประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกขึ้นทุกๆปี ละ 1 ครั้ง ผลลัพธ์ของการประชุมคือ การจัดทำข้อตกลงด้านสุขภาพอย่างเป็นทางการ การประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลกประจำปี พ.ศ. 2548 เป็นการประชุมครั้งที่ 58 ... -
ทำไมคนไทยถึงขี้เมา
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)องค์กรอนามัยโลกได้รายงานว่าปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์เฉลี่ยในประชากรผู้ใหญ่ไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเวลากว่าสี่ทศวรรษที่ผ่านมา ทั้งในส่วนของสุรากลั่นและเบียร์ แต่สถานการณ์ในไทยมีลักษณะแตกต่างจากประเทศที่มี ... -
ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย พ ศ 2543-2546: ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2551)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย โดยมีผลกระทบทางลบน้อยที่สุดต่อสาธารณสุขของประเทศ การศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา 2 ... -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 1 กระบวนการกำหนดนโยบาย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549) -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 2 กระบวนการพัฒนาสาระนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549) -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 3 เรียนรู้โดยการปฏิบัติจากการนำนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าสู่การปฏิบัติ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549) -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 4 อนาคตและทิศทางของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)5 ปี ของการดำเนินการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นับจากการกำหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่นำไปสู่การปฏิบัติในปี พ.ศ. 2544 ถึงปี พ.ศ. 2549 กล่าวได้ว่าประเทศไทยมีบทเรียนแห่งความสำเร็จและการเรียนรู้จากปัญหาอุปสรรคมากมาย ... -
บทบาทของแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพในโรงพยาบาล
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การส่งเสริมสุขภาพ มีความสำคัญเป็นอย่างมากในระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบัน ซึ่งแพทย์ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลต่าง ๆ ต้องมีส่วนเกี่ยวข้องไม่มากก็น้อย ในขณะที่ยังคงขาดความชัดเจนในเรื่องบทบาทของแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพ ... -
บุหรี่และสุรา : ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ระหว่างครัวเรือนไทยที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)การศึกษาภาระโรคในประเทศไทยเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2542 กับ 2547 พบว่าใน พ.ศ. 2547 ภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล์และบุหรี่เพิ่มมากขึ้น และเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับสอง และสาม รองจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ... -
ปัจจัยในการตัดสินใจเชิงนโยบายและสิ่งท้าทายของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)การตัดสินใจเลือกใช้วิธีการจ่ายเงินให้กับสถานพยาบาลในลักษณะการเหมาจ่ายรายหัว(CAPITION CON-TRACT MODEL) ร่วมกับการจ่ายเงินตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG) ในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแทนที่จะใช้วิธีการจ่ายเงินตามรายการร ... -
ผลกระทบจากหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ที่มีต่อการขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การวิจัยเป็นการศึกษาผลกระทบที่มีต่อการขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญของเภสัชภัณฑ์ที่เป็นยาใหม่อันเนื่องมาจากมาตรการเชิงบริหารที่ให้สิทธิผูกขาดทางการตลาดในการจำหน่วยยาต้นแบบบางชนิดที่ไม่อยู่ในข่ายที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราช ... -
ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของการติดเชื้อเอชไอวีในเด็ก : กรณีศึกษาจังหวัดน่านปี 2545
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนเศรษฐศาสตร์ในการดูแลรักษาเด็กติดเชื้อเอชไอวีทั้งด้านผู้ให้บริการ และครอบครัวผู้ป่วย รวมทั้งศึกษาผลกระทบต่อครอบครัวผู้ป่วย ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมโดยสำรวจครอบครัวเด็กอายุระหว่าง ... -
ผลกระทบบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ต่อโรงพยาบาลภาครัฐ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2539 จัดทำขึ้นโดยใช้หลักการและแนวทางในการคัดเลือกยาขององค์การอนามัยโลกที่กำหนดให้มีจำนวนยาที่จำเป็นที่น้อยที่สุด (Minimal List) ต่อมามติของคณะรัฐมนตรีในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 ได้กำหนดให้ผู้ป่ว ... -
ผลดี ผลเสีย การฝากครรภ์พิเศษในโรงพยาบาลรัฐ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นจากการทำเวชปฏิบัติของสูติแพทย์ฝากครรภ์พิเศษทั้งในมุมมองของผู้ใช้และแพทย์ผู้ให้บริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณภาพและความเชื่อมั่นต่อบริการของหญิงที่ไม่ฝากครรภ์พิเศษ ... -
ผู้มีรายได้น้อย กับการเข้าถึงบริการทดแทนไต: วิเคราะห์และข้อเสนอเชิงนโยบาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)ในประเทศไทย 76.7% ของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End-stage Renal Disease, ESRD) ไม่สามารถเข้าถึงบริการทดแทนไต เพราะเป็นบริการที่มีราคาแพงจนอาจทำให้ผู้ป่วยล้มละลาย (Catastrophic illiness) สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยรายงา ...