สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ: Recent submissions
Now showing items 81-100 of 161
-
ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามต่อสาธารณะว่า ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครคือผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งในด้านการใช้บริการสุขภาพและการได้รับประโยชน์จากงบประมาณภาครัฐ ระหว่างกลุ่มประ ... -
บุหรี่และสุรา : ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ ระหว่างครัวเรือนไทยที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)การศึกษาภาระโรคในประเทศไทยเปรียบเทียบระหว่าง พ.ศ. 2542 กับ 2547 พบว่าใน พ.ศ. 2547 ภาระโรคที่เกิดจากการบริโภคแอลกอฮอล์และบุหรี่เพิ่มมากขึ้น และเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับสอง และสาม รองจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย ... -
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: ตอนที่ 4 อนาคตและทิศทางของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)5 ปี ของการดำเนินการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นับจากการกำหนดนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่นำไปสู่การปฏิบัติในปี พ.ศ. 2544 ถึงปี พ.ศ. 2549 กล่าวได้ว่าประเทศไทยมีบทเรียนแห่งความสำเร็จและการเรียนรู้จากปัญหาอุปสรรคมากมาย ... -
Costs of Lifetime Treatment of Acute Coronary Syndrome at Ramathibodi Hospital
(International Health Policy Program, 2006) -
ความต้องการงบประมาณสำหรับการเข้าถึงบริการทดแทนไตอย่างถ้วนหน้าในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณการความต้องการงบประมาณสำหรับการขยายการเข้าถึงบริทดแทนไตให้กับผู้มีสิทธิ์ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งนี้เพื่อวิเคราะห์ภาระงบประมาณที่จะเกิดขึ้นและความเป็นไปได้ของภาครัฐใ ... -
อุปสงค์ของบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้เป้นการประมาณการอุปสงค์ของการบริการทดแทนไตสำหรับผู้มีสิทธิ์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึ่งหากรัฐบาลตัดสินใจให้ขยายการเข้าถึงยริการทดแทนไตสำหรับผู้มีสิทธิ์ทุกคนอาจส่งผลให้ความชุกและอัตราอุบัติการณ์การเข ... -
รายงานสถานะสุขภาพคนไทย: การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ ศ 2546
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)ในพ.ศ. 2546 สำนักงานสถิติแห่งชาติและสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้สร้างคำถามที่ใช้ประเมิณสถานะสุขภาพ 9 ข้อ เป็นคำถามที่ประเมิณสุขภาพกาย 4 มิติ ( การเคลื่อนไหว, การดูแลตนเอง, การทำกิจกรรมปกติ, การเจ็บป่วย ไม่สบาย) ... -
ทำไมคนไทยถึงขี้เมา
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)องค์กรอนามัยโลกได้รายงานว่าปริมาณการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์เฉลี่ยในประชากรผู้ใหญ่ไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงเวลากว่าสี่ทศวรรษที่ผ่านมา ทั้งในส่วนของสุรากลั่นและเบียร์ แต่สถานการณ์ในไทยมีลักษณะแตกต่างจากประเทศที่มี ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 4 พรบ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในบริบทของการประกันสุขภาพถ้วนหน้า-ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แม้ว่าจะเป็นการประกันภาคบังคับ บริษัทประกันวินาศภัยที่มุ่งกำไรเป็นผู้บริหารโครงการนี้ทั้งหมด กฎหมายนี้ให้การคุ้มครองโดยจ่ายสินไหมทดแทนกรณีรักษาพยาบาลไม่เกินเพดานที่กำหนด ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 3 การจ่ายร่วมในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: บทวิเคราะห์เชิงนโยบาย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเริ่มดำเนินการทั่วประเทศในเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้กำหนดให้มีการจ่ายร่วมในการรักษาพยาบาลเป็นเงิน ๓๐ บาทต่อครั้ง ยกเว้นผู้ถือบัตรสวัสดิการรักษาพยาบาลสำหรับผู้ที่สังคมควรช่วยเหลือเกื้อกูล ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 2 ความเป็นไปได้ของแหล่งการเงินต่างๆ ของกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)แหล่งการเงินหลักของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปัจจุบันเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 39 กำหนดให้กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมี 8 แหล่งเงิน การศึกษานี้มีวัตถุประส ... -
ชุดวิจัยการเงินการคลังระบบสุขภาพไทย: ตอนที่ 1 แนวทางการปฏิรูปการเงินการคลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)งานการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายที่สำคัญของรัฐบาล ครอบคลุมประชากรไทยร้อยละ 75 แต่ได้รับงบประมาณอุดหนุนอัตราเหมาจ่ายรายหัวที่จำกัดต่ำกว่าข้อเท็จจริงของอัตราการใช้และต้นทุนบริการ และมีปัญหาความยั่งยืนทางการเงิ ... -
การสำรวจการใช้ระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การศึกษานี้เป็นการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถานการณ์การใช้และการลงทุนในระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาลในประเทศไทย โดยการส่งแบบสอบถามผู้แทนอย่างน้อย ๒ คนของโรงพยาบาลทั่วประเทศ ในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน พ.ศ. ๒๕๔๗ ... -
ความเห็นของผู้ให้บริการต่อการพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาล ฉบับปีกาญจนาภิเษก : กรณีศึกษาระบบสารสนเทศ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาประเด็นปัญหาที่สำคัญต่อโรงพยาบาลซึ่งได้ดำเนินการพัฒนาคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพโรงพยาลาล (Hospital Accrediation , HA) ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล เพื่อนำมาประกอ ... -
การปรับปรุงสิทธิประโยชน์กรณีทันตกรรมกองทุนประกันสังคม
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การวิจัยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการรับบริการทันตกรรม ความเป็นไปได้ของการขยายสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม ของผู้ประกันตนในกองทุนประกันสังคม ตลอดจนการปรับปรุงเปลี่ยนรูปแบบการจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัว โดยขั้นตอนการวิจัยประกอบ ... -
บทบาทของแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพในโรงพยาบาล
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การส่งเสริมสุขภาพ มีความสำคัญเป็นอย่างมากในระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบัน ซึ่งแพทย์ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลต่าง ๆ ต้องมีส่วนเกี่ยวข้องไม่มากก็น้อย ในขณะที่ยังคงขาดความชัดเจนในเรื่องบทบาทของแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพ ... -
ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของการติดเชื้อเอชไอวีในเด็ก : กรณีศึกษาจังหวัดน่านปี 2545
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนเศรษฐศาสตร์ในการดูแลรักษาเด็กติดเชื้อเอชไอวีทั้งด้านผู้ให้บริการ และครอบครัวผู้ป่วย รวมทั้งศึกษาผลกระทบต่อครอบครัวผู้ป่วย ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมโดยสำรวจครอบครัวเด็กอายุระหว่าง ... -
ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการผ่าตัดด้วยกล้องเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดในการรักษานิ่วในถุงน้ำดี ข้อมูลสำหรับระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)ปัจจุบันสัดส่วนการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีด้วยกล้องในประเทศไทยมีน้อยมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศทั้งนี้เนื่องจากขาดแรงจูงใจในการให้บริการ จึงศึกษาเพื่อหาต้นทุนอรรถประโยชน์ของการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีด้วยกล้องเปรียบเทียบกับการผ่า ... -
ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพไทย: ประสบการณ์ของผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เพื่อให้ประชาชนไทยมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพโดยไม่มีอุปสรรคทางด้านการเงิน และส่งผลให้เกิดความเป็นธรรมในระบบบริการสุขภาพเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ผู้บริหารระ ... -
อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 2 เรื่อง รายจ่ายด้านของคนไทยก่อนและหลังมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินภาพรวมสัมฤทธิ์ผลของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในด้านภาระรายจ่ายสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ โดยเปรียบเทียบในช่วงก่อนและหลังมีสิทธิประโยชน์นี้และผลที่มีต่อผู้มีหลักประกันสุขภาพถ้ว ...