แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ความเหมาะสมในการลงทุนเพื่อนำเครื่องฉายรังสีโปรตอนมาใช้รักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย

dc.contributor.authorภูษิต ประคองสายen_US
dc.contributor.authorศรีเพ็ญ ตันติเวสสen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.date.accessioned2008-10-01T03:17:31Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:54:18Z
dc.date.available2008-10-01T03:17:31Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:54:18Z
dc.date.issued2545en_US
dc.identifier.citationวารสารนโยบายและแผนสาธารณสุข 4,3-4(2545) : 8-31en_US
dc.identifier.issn0859-8282en_US
dc.identifier.otherDMJ21en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/226en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประโยชน์และความเหมาะสมในการนำเครื่องมือฉายรังสีโปรตอนมาใช้สำหรับการรักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาในช่วงระหว่างเดือนมิถุนายนถึงสิงหาคม 2543 โดยใช้การทบทวนเอกสารวิชาการและประสบการณ์ของการใช้รังสีโปรตอนในต่างประเทศ การสำมะโนสถานการณ์ของหน่วยรังสีรักษาและความคิดเห็นของแพทย์รังสีรักษาทั่วประเทศ พบว่า ไม่มีรายงานการศึกษาทางคลินิกที่แสดงว่า รังสีโปรตอนมีประสิทธิผลในการรักษาโรคมะเร็งเหนือกว่าวิธีการของรังสีรักษาที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ในขณะที่การนำเครื่องฉายรังสีโปรตอนมาใช้ ประเทศไทยจะต้องมีความพร้อมของเงินทุน บุคลากรด้านรีังสีรักษาและด้านฟิสิกส์เป็นจำนวนมากเพื่อใช้ในการลงทุน การบำรุงรักษาและดำเนินการในระยะยาว เมื่อศึกษาความต้องการด้านรังสีรักษาพบว่าเครื่องมือด้านรังสีรักษาและวิธีการรักษาทีมีอยู่ในปัจจุบันสามารถให้การรักษาโรคมะเร็งส่วนใหญ่ได้เกือบทั้งหมด ในขณะที่ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี พบผู้ป่วยโรคมะเร็งที่อาจจะมีความจำเป็นในการใช้รังสีโปรตอนจำนวนน้อยมาก ในด้านทรัพยากรของหน่วยรังสีรักษาพบว่ายังมีความขาดแคลนบุคลากรและเครื่องมือพื้นฐานในการให้บริการกับประชาชน ซึ่งการนำงบประมาณไปใช้ในการลงทุนกับเครื่องมือพื้นฐานในการให้บริการกับประชาชน ซึ่งการนำงบประมาณไปใช้ในการลงทุนกับเครื่องมือที่มีราคาแพงโดยละเลยการแก้ไขปัญหาความขาดแคลนพื้นฐานเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสม นอกจากนี้ มีความเป็นไปได้น้อยมากที่ผู้ป่วยโรคมะเร็งจะสามารถขำระค่าบริการของรังสีโปรตอนได้ การศึกษาครั้งนี้เป็นตัวอย่างหนึ่งของการประเมินเทคโนโลยีสุขภาพและเชื่อมโยงผลการศึกษาทางวิชาการไปสู่การตัดสินใจเชิงนโยบาย ซึ่ี่งในที่สุดกระทรวงสาธารณสุขได้มีมติระงับการจัดซื้อเครื่องฉายรังสีโปรตอนเพื่อนำมาใช้รักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย ข้อเสนอแนะที่สำคัญของการศึกษานี้คือ การแก้ไขปัญหางานด้านรังสีรักษา การวางแผนที่ชัดเจนสำหรับการลงทุนเครื่องมือแพทย์ที่มีราคาแพงตามความจำเป็นของประเทศ และควรมีการจัดตั้งคณะกรรมการประเมินเทคโนโลยีทางสุขภาพอย่างเร่งด่วนในอนาคตen_US
dc.format.extent833574 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.rightsสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.subjectโรคมะเร็งen_US
dc.titleความเหมาะสมในการลงทุนเพื่อนำเครื่องฉายรังสีโปรตอนมาใช้รักษาโรคมะเร็งในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeProton radiation therapy: is it necessary for Thailand?en_US
dc.typeArticleen_US
dc.subject.keywordการลงทุนen_US
dc.subject.keywordเครื่องฉายรังสีโปรตอนen_US
.custom.citationภูษิต ประคองสาย, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส and วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร. "ความเหมาะสมในการลงทุนเพื่อนำเครื่องฉายรังสีโปรตอนมาใช้รักษาโรคมะเร็งในประเทศไทย." 2545. <a href="http://hdl.handle.net/11228/226">http://hdl.handle.net/11228/226</a>.
.custom.total_download1252
.custom.downloaded_today2
.custom.downloaded_this_month26
.custom.downloaded_this_year271
.custom.downloaded_fiscal_year42

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: 2002_DMJ21_ความเห ...
ขนาด: 814.0Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย