การควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในประเทศไทย: บทวิเคราะห์กระบวนการเชิงนโยบาย
dc.contributor.author | วีระศักดิ์ พุทธาศรี | en_US |
dc.contributor.author | วัชรา ริ้วไพบูลย์ | en_US |
dc.contributor.author | รัชตะ ตั้งศิริพัฒน์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-10-01T03:40:30Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-15T08:54:45Z | |
dc.date.available | 2008-10-01T03:40:30Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-15T08:54:45Z | |
dc.date.issued | 2547 | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารวิชาการสาธารณสุข 13,5(2547) : 715-725 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-4923 | en_US |
dc.identifier.other | DMJ59 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/255 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ เพื่อวิเคราะห์แนวคิดและที่มาของนโยบายเกี่ยวกับโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย ในอดีต และผลกระทบที่เกิดจากนโยบายดังกล่าวในการควบคุมและป้องกันโรค รวมทั้งนำเสนอประเด็นเพื่อใช้เป็นกรอบการกำหนดนโยบาย โดยการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 10 คน เก็บข้อมูลระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ผลการศึกษา นโยบายการควบคุมและป้องกันโรคดลหิตจางธาลัสซีเมียที่ผ่านมา มีจุดเริ่มต้นที่ความเข้มแข็งของฝ่ายวิชาการ นำเสนอผ่านทางการเมือง เพื่อผลักดันให้มีการปฏิบัติในงานของกระทรวงสาธารณสุขโดยฝ่ายประชาชนหรือชมรมผู้ป่วยโลหิตจางธาลัสซีเมียมีบทบาทค่อนข้างน้อย แนวคิดรูปแบบใหม่เน้นการคัดกรองหาผู้ป่วย/พาหะในกลุ่มมารดาที่กำลังตั้งครรภ์และสามี อุปสรรคใหญ่คือความต่อเนื่องในการดำเนินนโยบาย บุคลากร งบประมาณ และความพร้อมในการตรวจคัดกรองของสถานพยาบาลเครือข่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อมีโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า อัตราการตรวจคัดกรองลดลงอย่างชัดเจนปัญหาการขาดหน่วยงานที่เป็นแกนหลักในการดำเนินโครงการ และมีความพร้อมทั้งความรู้ ความเหมาะสม อำนาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายโดยตรง มีงบประมาณ สนับสนุน และมีส่วนราชการ หรือผู้ปฏิบัติในระดับภูมิภาคแม้ว่าฝ่ายวิชาการจะมีความเข้มแข็ง แต่ไม่สามารถ ดำเนินโครงการควบคุมและป้องกันในระดับประเทศได้ การขับเคลื่อนทั้งระบบและคำนึงถึงความต่อเนื่องของนโยบายการควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางธารลัสซีเมียนั้น ควรมีหน่วยงานรับผิดชอบรวมตัวเป็นเครือข่ายประสานทั้งประเด็นทางด้านวิชาการ การบริการ และการบริหารให้มีความร่วมมือทางการวิจัย ตลอดจนผลักดันให้เกิดการวิจัยเชิงนโยบาย หรือรูปแบบการบริหารจัดการมากขึ้น ปรับรูปแบบการประชุมวิชาการธาลัสซีเมีย ให้มีประเดือนด้านนโยบาย รวมถึงต้องกำหนดผู้ปฏิบัติหลักที่เหมาะสมสอดคล้องกับบทบาทและอำนาจหน้าที่ของบุคคลหรือองค์กรนั้น | en_US |
dc.format.extent | 898413 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ | en_US |
dc.rights | สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ | en_US |
dc.subject | โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย | en_US |
dc.subject | โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า | en_US |
dc.title | การควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในประเทศไทย: บทวิเคราะห์กระบวนการเชิงนโยบาย | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dc.subject.keyword | การวิเคราะห์นโยบาย | en_US |
.custom.citation | วีระศักดิ์ พุทธาศรี, วัชรา ริ้วไพบูลย์ and รัชตะ ตั้งศิริพัฒน์. "การควบคุมและป้องกันโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในประเทศไทย: บทวิเคราะห์กระบวนการเชิงนโยบาย." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/255">http://hdl.handle.net/11228/255</a>. | |
.custom.total_download | 1094 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 12 | |
.custom.downloaded_this_year | 169 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 25 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ [161]
International Health Policy Program Foundation (IHPP)