Show simple item record

International ethical guidelines for biomedical research involving human subjects

dc.contributor.authorวิชัย โชควิวัฒนen_US
dc.contributor.authorทิพิชา โปษยานนท์en_US
dc.date.accessioned2009-12-22T04:27:30Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:46:34Z
dc.date.available2009-12-22T04:27:30Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:46:34Z
dc.date.issued2552-08en_US
dc.identifier.otherhs1642en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2842en_US
dc.description.abstractหลักจริยธรรมสำหรับการวิจัยในมนุษย์ข้อหนึ่งคือหลักความปลอดภัย ซึ่งแสดงออกโดยจะต้องมีการประเมินความเสี่ยงเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ ตั้งแต่ก่อนเริ่มการศึกษาวิจัยและตลอดระยะเวลาการศึกษาวิจัยจนการศึกษาวิจัยเสร็จสิ้น การประเมินเพื่อชั่งน้ำหนักระหว่างความเสี่ยงกับประโยชน์ที่ได้รับ ก่อนการศึกษาวิจัยเป็นหน้าที่ของคณะกรรมการที่ดูแลด้านจริยธรรมจะประเมินจากโครงร่างการวิจัยที่ผู้วิจัยนำเสนอ ส่วนการประเมินระหว่างการศึกษาวิจัยโดยทั่วไปจะประเมินจากรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ และข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัย ทั้งจากโครงการศึกษาวิจัยโดยตรงและโครงการวิจัยหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องอื่นๆ กลไกสำคัญกลไกหนึ่งในการช่วยคณะกรรมการจริยธรรมในการกำกับดูแลด้านความปลอดภัย และประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวข้องอื่นๆ คือการกำหนดให้มีคณะกรรมการกำกับดูแลข้อมูลและความปลอดภัย หรือดีเอสเอ็มบี (DSMB) คณะกรรมการดังกล่าวมีความจำเป็นและมีประโยชน์อย่างมากในหลายกรณีที่จะให้ข้อเสนอแนะอย่างมีเหตุผลบนพื้นฐานของข้อมูล ว่าโครงการวิจัยนั้นๆ มีความปลอดภัยเพียงพอที่จะให้ทำการศึกษาวิจัยต่อไปจนเสร็จสิ้น หรือสมควรยุติโครงการก่อนกำหนด หรือผลการศึกษาวิจัยสามารถสรุปได้โดยชัดเจนแล้วว่าไม่จำเป็นต้องวิจัยต่อจนสิ้นสุดโครงการ เพราะได้ข้อสรุปชัดเจนแล้ว่าได้ผล หรือในทางตรงข้ามคือมีข้อมูลที่ชัดเจนแล้วว่าไม่ได้ผล ไม่ควรทำวิจัยต่อไป ซึ่งเป็นการนำอาสาสมัครเข้ามาเสี่ยงต่อไป โดยไม่เกิดประโยชน์ อย่างไรก็ดี ในวงการศึกษาวิจัยในคนทั่วโลก รวมทั้งในประเทศไทยยังมีผู้เกี่ยวข้องจำนวนไม่น้อยที่ไม่เข้าใจหรือไม่เห็นประโยชน์ของดีเอสเอ็มบีอย่างชัดเจน เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจและการใช้ประโยชน์ของดีเอสเอ็มบี สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์จึงได้แปลและพิมพ์เผยแพร่แนวทางการดำเนินการฉบับนี้ขึ้น หวังว่าเอกสารฉบับนี้จะมีส่วนส่งเสริมการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ในประเทศไทยไม่มากก็น้อยth_TH
dc.description.sponsorshipThaihealth-Global Link Initiative Project (TGLIP),สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์,สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent7924 bytesen_US
dc.format.mimetypeimage/jpegen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์en_US
dc.rightsสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์en_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleแนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ของสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมกับองค์การอนามัยโลกen_US
dc.title.alternativeInternational ethical guidelines for biomedical research involving human subjectsen_US
dc.typeDocumenten_US
dc.identifier.callnoBJ100 ว539น 2552en_US
dc.subject.keywordการวิจัยในมนุษย์en_US
dc.subject.keywordจริยธรรมen_US
dc.subject.keywordวิทยาศาสตร์การแพทย์en_US
dc.subject.keywordEthicen_US
.custom.citationวิชัย โชควิวัฒน and ทิพิชา โปษยานนท์. "แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ของสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมกับองค์การอนามัยโลก." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2842">http://hdl.handle.net/11228/2842</a>.
.custom.total_download1148
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month13
.custom.downloaded_this_year283
.custom.downloaded_fiscal_year34

Fulltext
Icon
Name: hs1642.pdf
Size: 1.715Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record