Now showing items 1-8 of 8

    • ICH Good clinical practice guideline ฉบับภาษาไทย 

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2550-10)
      การปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี (Good Clinical Practice: GCP) เป็นมาตรฐานสากลด้านจริยธรรมและวิชาการสําหรับวางรูปแบบ ดําเนินการ บันทึก และรายงานการวิจัยทางคลินิก การปฏิบัติตามมาตรฐาน GCP เป็นการรับประกันว่า สิทธิความปลอดภัย ...
    • International Guideline on Research Ethics 

      สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2550-08)
    • ปฏิญญาเฮลซิงกิของแพทยสมาคมโลก(ค.ศ.2000)หลักการจริยธรรมสำหรับการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ 

      วิชัย โชควิวัฒน; สุชาติ จองประเสริฐ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-03)
      ปฏิญญาเฮลซิงกิเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดทั่วโลก นับตั้งแต่ประกาศครั้งแรกโดยสมัชชาของแพทยสภาคมโลกที่กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2507 ปฏิญญาดังกล่างมีการปรับปรุ ...
    • มาตรฐานและแนวทางการดำเนินการสำหรับการทบทวนพิจารณาจริยธรรมการวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556)
      เอกสารนี้จัดทำขึ้นสำหรับบุคคลและองค์กร ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์ ได้แก่ การศึกษาวิจัยทางชีวเวชศาสตร์, พฤติกรรมศาสตร์, สังคมศาสตร์ และการศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา เอกสารนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้คำแน ...
    • รายงานเบลมองต์ 

      วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-06)
      รายงานเบลมองต์เป็นส่วนหนึ่งของรายงานของคณะกรรมการชุดหนึ่งที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ของสหรัฐอเมริกา ที่กำหนดให้ต้องมีการจัดตั้งคณะกรรมการแห่งชาติเพื่อการคุ้มครองอาสาสมัครในการวิจัยทางชีวเวชศาสตร์แ ...
    • แนวทางการดำเนินการจัดตั้งและการทำหน้าที่ของคณะกรรมการกำกับดูแลข้อมูลและความปลอดภัยหรือดีเอสเอ็มบี 

      วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-04)
      หลักจริยธรรมสำหรับการวิจัยในมนุษย์ข้อหนึ่งคือหลักความปลอดภัย ซึ่งแสดงออกโดยจะต้องมีการประเมินความเสี่ยงเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ (risk-benefit assessment) ตั้งแต่ก่อนเริ่มการศึกษาวิจัยและตลอดระยะเวลาการศึกษาวิจัย ...
    • แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ของสภาองค์การสากลด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมกับองค์การอนามัยโลก 

      วิชัย โชควิวัฒน; ทิพิชา โปษยานนท์ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2552-08)
      หลักจริยธรรมสำหรับการวิจัยในมนุษย์ข้อหนึ่งคือหลักความปลอดภัย ซึ่งแสดงออกโดยจะต้องมีการประเมินความเสี่ยงเปรียบเทียบกับประโยชน์ที่จะได้รับ ตั้งแต่ก่อนเริ่มการศึกษาวิจัยและตลอดระยะเวลาการศึกษาวิจัยจนการศึกษาวิจัยเสร็จสิ้น ...
    • แบบแผนการเขียนองค์การอนามัยโลก 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2555)
      หนังสือแนะนำการเขียนเอกสารตามแบบฉบับขององค์การอนามัยโลก แปลจากหน้งสือชื่อเรื่อง WHO Style Guide