Show simple item record

การพัฒนาระบบการดูแลโรคหืด เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิระดับอำเภอ (CUP) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล

dc.contributor.editorวัชรา บุญสวัสดิ์en_US
dc.date.accessioned2012-03-08T08:33:43Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T16:59:45Z
dc.date.available2012-03-08T08:33:43Zen_US
dc.date.available2557-04-16T16:59:45Z
dc.date.issued2554-12en_US
dc.identifier.isbn9789742991760en_US
dc.identifier.otherhs1910en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3454en_US
dc.description.abstractท่ามกลางสถานการณ์สุขภาพที่ปรับเปลี่ยนเป็นภาวะโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นอันเนื่องจากสังคมไทยปรับเป็นสังคมผู้สูงอายุ และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไปมีผลกระทบต่อสุขภาพมากขึ้น โรคหืดเป็นปรากฏการณ์หนึ่งของภาวะสุขภาพที่มีผลกระทบมาจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม โรคหืดเป็นภาวะสุขภาพที่ต้องการการดูแลทั้งระยะเฉียบพลันและต่อเนื่องเป็นภาวะเรื้อรัง ดังนั้นจึงต้องการผู้ดูแลสุขภาพที่มีความเข้าใจทั้ง “โรค” และ “คน” อย่างผสมผสานต่อเนื่อง อันเป็นคุณลักษณะเด่นของหน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการใกล้บ้านใกล้ใจหรือที่ยกระดับใหม่เป็น “โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล” จุดเด่นของการทำงานในหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ คือ เป็นจุดบริการด่านแรกเข้าถึงง่าย ดูแลอย่างผสมผสานทั้งในด้านการรักษา การส่งเสริม และการป้องกันโรค อีกทั้งทำหน้าที่ประสานส่งต่อไปยังหน่วยบริการอื่นที่มีความซับซ้อนทางการแพทย์มากกว่าหรือส่งต่อไปรับบริการด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนทำหน้าที่ช่วยเหลือและเสริมศักยภาพให้แก่ผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับวิถีชีวิตและยังมีบทบาทประสานร่วมมือกับชุมชนท้องถิ่นในการจัดการกับปัญหาหรือผลกระทบต่อสุขภาพ ผู้ป่วยโรคหืดเป็นโรคหนึ่งที่มีความจำเป็นต้องการบริการในลักษณะดังกล่าวข้างต้น การดูแลผู้ป่วยโรคหืดอย่างมีประสิทธิภาพถือว่าเป็นความท้าทายใหม่ต่อคุณภาพการจัดบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิ รวมทั้งการประสานบริการที่เชื่อมโยงระหว่างหน่วยบริการใกล้บ้านกับ โรงพยาบาลและการผสมผสานระหว่างการรักษากับการป้องกันโรค หนังสือเล่มนี้เป็นผลผลิตหนึ่งของการทำงานโดยคณะทำงานพัฒนาเอกสารวิชาการที่จะช่วยให้คนทำงานโรคหืดในระบบบริการและผู้สนใจเห็นความสำคัญ ตระหนักถึงปัญหาและร่วมกันสนับสนุนการป้องกัน และการดูแลแก้ไขปัญหาโรคหืดในพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหนังสือเล่มนี้ยังเป็นส่วนหนึ่งของการเผยแพร่องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องซึ่งครอบคลุมเนื้อหา เรื่องสถานการณ์โรคหืดในประเทศ บทบาทของภาคส่วนต่างๆ ในการดำเนินงานร่วมกัน โดยได้รับความร่วมมือจากผู้เขียนทั้งที่มาจากหน่วยงานสถาบันการศึกษา องค์กรวิชาการและหน่วยงานปฏิบัติในพื้นที่เป็นอย่างดี สุดท้ายนี้หวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้สนใจในการพัฒนาระบบการดูแลโรคหืดให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.) สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน(สพช.) สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเชียน มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานโครงการสนับสนุนนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)en_US
dc.format.extent11331509 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectโรคหืดen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการพัฒนาระบบการดูแลโรคหืด เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิระดับอำเภอ (CUP) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลen_US
dc.typeDocumenten_US
dc.identifier.callnoWF553 ก494 2554en_US
dc.identifier.contactno54-006en_US
dc.subject.keywordการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subject.keywordบริการปฐมภูมิen_US
dc.subject.keywordโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลen_US
dc.subject.keywordรพ.สต.en_US
.custom.citation "การพัฒนาระบบการดูแลโรคหืด เครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิระดับอำเภอ (CUP) และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล." 2554. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3454">http://hdl.handle.net/11228/3454</a>.
.custom.total_download451
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year11
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs1910.pdf
Size: 2.217Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record