Show simple item record

มหาอุทกภัยปี 2554 : บทเรียนจากประสบการณ์

dc.contributor.advisorพงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุขen_US
dc.contributor.authorไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาลen_US
dc.contributor.editorคณิตสรณ์ สัมฤทธิ์เดชขจรen_US
dc.contributor.editorสรชัย จำเนียรดำรงการen_US
dc.date.accessioned2012-09-03T09:46:13Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T17:00:27Z
dc.date.available2012-09-03T09:46:13Zen_US
dc.date.available2557-04-16T17:00:27Z
dc.date.issued2555-08en_US
dc.identifier.otherhs1976en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3658en_US
dc.description.abstractปัญหาอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 ได้สร้างความเสียหายแก่ประเทศและประชาชนจำนวนมาก แม้ว่าหน่วยงานต่างๆ จะได้พยายามอย่างเต็มที่ในการเยียวยาความเดือดร้อนดังกล่าว เมื่อปัญหาดังกล่าวทุเลาลงหน่วยงานหลายภาคส่วนจึงให้ความสนใจถอดบทเรียนเพื่อพลิกวิกฤติเป็นโอกาสพัฒนา สำหรับหน่วยงานด้านสุขภาพต่างๆ อาทิเช่น สำนักบริหารการสาธารณสุข กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ฯลฯ ต่างได้ดำเนินการถอดบทเรียนเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงการรับมือกับภัยพิบัติของหน่วยงานนั้นๆ ในโอกาสต่อไป สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขพบว่า บทเรียนที่หน่วยงานต่างๆ สรุปขึ้นเป็นข้อมูลและความรู้ที่ทรงคุณค่ายิ่ง แต่จะมีประโยชน์มากขึ้น หากได้บูรณาการความรู้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน เป็นความรู้เชิงระบบเพื่อเตรียมรับมือกับปัญหาอุทกภัยและภัยพิบัติอื่นๆ ในอนาคต บทเรียนที่นำเสนอในครั้งนี้มุ่งเน้นมิติสุขภาพเป็นหลัก และพุ่งประเด็นไปยังการบริหารจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุขเป็นสำคัญ โดยประมวลบทเรียนของหน่วยงานดังกล่าว ร่วมกับทบทวนเอกสารวิชาการ พร้อมนำผลการสำรวจ ครัวเรือนประสบภัยในพื้นที่น้ำท่วม 61 จังหวัดของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ผ่านการสนับสนุนของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประทศ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ และองค์การอนามัยโลก มาประกอบการสังเคราะห์ให้ได้บทเรียนที่สะท้อนมิติสุขภาพอย่างครอบคลุม บทเรียนเหล่านี้ส่วนใหญ่ไม่ใช่ความรู้ใหม่ แต่เป็นสิ่งที่เราได้รับการพร่ำสอน ผ่านสำนวนสุภาษิต คำพังเพยมาตั้งแต่เด็ก การละเลยข้อคิดดีๆ เหล่านี้ได้ ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ดังปรากฏในหนังสือเล่มนี้ ไม่ว่าจะการบริหารจัดการ การประสานงาน การตัดสินใจ และระบบสารสนเทศ ความท้าทายของกระบวนการ ถอดบทเรียนจึงมิใช่เพียงให้ได้มาซึ่งบทเรียน แต่เป็นการเสนอบทเรียนเหล่านี้แก่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันไม่ให้ข้อผิดพลาดเหล่านี้เกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่าทุกครั้งที่เผชิญภัยพิบัติ ซึ่งมีแนวโน้มจะอยู่เป็นส่วนหนึ่งของชีวิตเราในอนาคต ทั้งนี้ ด้วยความหวังหลักว่าโอกาสสูญเสียชีวิตก็ดี สูญเสียทรัพย์สินก็ดี ทุกข์ทรมานกายและใจก็ดีจะเกิดขึ้นน้อยที่สุดเท่าที่จะน้อยได้en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent8017594 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการบรรเทาสาธารณภัยen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleมหาอุทกภัยปี 2554 : บทเรียนจากประสบการณ์en_US
dc.typeDocumenten_US
dc.identifier.callnoHV610 พ978ม 2555en_US
dc.identifier.contactno55-018en_US
dc.subject.keywordอุทกภัยen_US
dc.subject.keywordภัยพิบัติen_US
.custom.citationไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล. "มหาอุทกภัยปี 2554 : บทเรียนจากประสบการณ์." 2555. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3658">http://hdl.handle.net/11228/3658</a>.
.custom.total_download241
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year6

Fulltext
Icon
Name: hs1976.pdf
Size: 8.127Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record