Show simple item record

2 ทศวรรษ : บทเรียนการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพ

dc.contributor.advisorพงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุขen_US
dc.contributor.authorคณิตสรณ์ สัมฤทธิ์เดชขจรen_US
dc.contributor.authorรุจินาถ อรรถสิษฐen_US
dc.contributor.editorสรชัย จำเนียรดำรงการen_US
dc.date.accessioned2013-05-01T02:46:17Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T17:05:34Z
dc.date.available2013-05-01T02:46:17Zen_US
dc.date.available2557-04-16T17:05:34Z
dc.date.issued2556-04en_US
dc.identifier.isbn9789742991951en_US
dc.identifier.otherhs2043en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3817en_US
dc.description.abstractโครงการศึกษาบทเรียนการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพนี้ ริเริ่มโดยนายแพทย์พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข ผู้อำนวยการ สวรส.คนปัจจุบัน ด้วยมีความเห็นว่า สวรส.มีวิสัยทัศน์ คือ “การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน” อีกทั้ง สวรส.เป็นองค์กรที่มีพัฒนาการและการสะสมองค์ความรู้เชิงประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพเป็นเวลาถึงสองทศวรรษ จึงเป็นโอกาสดีที่จะแปลง “ความรู้ฝังลึก” “เป็นความรู้เปิดเผยชัดเจน” ในรูปของ ความรู้เชิงประสบการณ์ด้านการจัดการงานวิจัย ดังนั้น ผู้ศึกษาจึงได้ทบทวนวรรณกรรม พัฒนากรอบคิดและเครื่องมือการศึกษา และสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้จัดการงานวิจัยใน สวรส. และเครือข่ายงานวิจัยระบบสุขภาพที่มีประสบการณ์โดดเด่น นอกจากนี้ยังมีการศึกษา 2 องค์กรที่สนับสนุนงานวิจัยหลัก คือ สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) และสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ซึ่งมีกำเนิดและพัฒนาการพร้อม สวรส. ในช่วงของการปฏิรูประบบวิจัยของประเทศไทย รายงานการศึกษาบทเรียนการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพ ประกอบด้วยเนื้อหา 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นบทนำที่กล่าวถึงสาระของการจัดการงานวิจัยในต่างประเทศ ส่วนที่ 2 เป็นการกล่าวถึงบทเรียนการจัดการงานวิจัยของ สวรส. เครือข่ายงานวิจัยระบบสุขภาพ และองค์กรสนับสนุนงานวิจัย 2 องค์กรหลักดังกล่าว ส่วนที่ 3 เป็นการสรุปบทเรียนสำคัญที่ได้จากส่วนที่ 1 และส่วนที่ 2 อย่างไรก็ตาม การศึกษาครั้งนี้มีข้อจำกัดของเวลาที่ทำให้ผู้ศึกษามิอาจศึกษาประสบการณ์การจัดการงานวิจัยในเครือข่ายวิจัยระบบสุภาพได้ทั้งหมด ทั้งการเน้นการจัดการงานวิจัยขององค์กร การเก็บความรู้เชิงประสบการณ์ของผู้จัดการงานวิจัยรายบุคคลยังอาจไม่เข้มข้นเพียงพอ ประสบการณ์เหล่านี้น่าจะยังตกผลึกอยู่ในตัวตนของผู้จัดการงานวิจัยแต่ละคนอีกมาก นอกจากนี้แนวทางการสร้างนักจัดการงานวิจัยที่มีความสามารถยังเจาะลึกไม่เพียงพอ จึงอาจขาดข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางลดความขาดแคลนด้านปริมาณและคุณภาพของผู้จัดการงานวิจัยในอนาคตen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent7347405 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการจัดการงานวิจัยen_US
dc.subjectระบบสุขภาพen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.title2 ทศวรรษ : บทเรียนการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพen_US
dc.typeDocumenten_US
dc.identifier.callnoW60 ค129ส 2556en_US
dc.identifier.contactno55-020en_US
.custom.citationคณิตสรณ์ สัมฤทธิ์เดชขจร and รุจินาถ อรรถสิษฐ. "2 ทศวรรษ : บทเรียนการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพ." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3817">http://hdl.handle.net/11228/3817</a>.
.custom.total_download501
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year6
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs2043.pdf
Size: 7.767Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record