แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การคาดประมาณประชากรข้ามชาติเพื่อพัฒนาบริการอนามัยแม่และเด็กใน กทม.

dc.contributor.advisorกฤตยา อาชวนิจกุลen_US
dc.contributor.advisorวิวัฒน์ พีรพัฒนโภคินen_US
dc.contributor.advisorวัชรา ริ้วไพบูลย์en_US
dc.contributor.authorทัศนัย ขันตยาภรณ์en_US
dc.contributor.authorนัฐวุฒิ สิงห์กุลen_US
dc.contributor.authorนงลักษณ์ ดิษฐวงษ์en_US
dc.contributor.authorพสุภา ชินวรโสภาคen_US
dc.contributor.authorศศิธร ศิลป์วุฒยาen_US
dc.contributor.authorกฤติกา พนาธนสารen_US
dc.contributor.editorสรชัย จำเนียรดำรงการen_US
dc.date.accessioned2013-12-20T07:04:30Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T17:06:06Z
dc.date.available2013-12-20T07:04:30Zen_US
dc.date.available2557-04-16T17:06:06Z
dc.date.issued2556-11en_US
dc.identifier.isbn9789742992149en_US
dc.identifier.otherhs2087en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3932en_US
dc.description.abstractการขาดแคลนแรงงานในระดับล่างของประเทศไทยเป็นปัจจัยดึงดูดที่สำคัญ ในการอพยพแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านที่มีปัญหาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และ การเมือง เช่น พม่า ลาว และกัมพูชา เข้ามาทำงานเพื่อรองรับความต้องการแรงงาน ระดับล่างในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย ปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลประชากรกลุ่มนี้ ในระบบที่ระบุจำนวนแรงงานข้ามชาติที่แท้จริงในประเทศได้ เนื่องจากการจดทะเบียน และต่ออายุแรงงานที่มีลักษณะปีต่อปี โดยอาศัยมติคณะรัฐมนตรีในการกำหนดแนว ปฏิบัติ อีกทั้งการพิสูจน์สัญชาติและการนำเข้าแรงงานอย่างถูกต้องตามกฎหมายยังอยู่ ในระหว่างการพัฒนา ในขณะที่การอพยพแรงงานข้ามพรมแดนโดยไม่มีเอกสารก็มีอยู่ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังพบว่า ฐานข้อมูลที่มีอยู่ไม่ปรากฏข้อมูลที่อ้างอิงได้ และ เป็นปัจจุบันในส่วนของผู้ติดตาม เช่น ภรรยาและบุตร ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยด้วย การขาดข้อมูลที่แท้จริงนี้ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการวางแผนพัฒนางานสาธารณสุข ทั้งในด้านการป้องกันและควบคุมโรคต่างๆ เช่น โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่มี ความครอบคลุมในกลุ่มเด็กไทยค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศในภูมิภาคนี้ แต่กลับ พบปัญหาการเข้าไม่ถึงบริการของเด็กข้ามชาติ นอกจากนี้ ความไม่แน่นอนของนโยบาย ในการอนุญาตให้ผู้ติดตามแรงงานอาศัยอยู่ในประเทศไทยได้ตามกฎหมาย ทำให้กลุ่ม ผู้หญิงและเด็กข้ามชาติไม่สามารถมีประกันสุขภาพได้ ส่งผลต่อการเข้าถึงบริการสุขภาพ พื้นฐาน โดยเฉพาะบริการด้านอนามัยแม่และเด็กen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1764585 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectระบบบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการคาดประมาณประชากรข้ามชาติเพื่อพัฒนาบริการอนามัยแม่และเด็กใน กทม.en_US
dc.typeDocumenten_US
dc.identifier.callnoWA310 ท362ก 2556en_US
dc.subject.keywordอนามัยแม่และเด็กen_US
dc.subject.keywordประชากรข้ามชาติen_US
dc.subject.keywordแรงงานข้ามชาติen_US
dc.subject.keywordบริการสุขภาพen_US
.custom.citationทัศนัย ขันตยาภรณ์, นัฐวุฒิ สิงห์กุล, นงลักษณ์ ดิษฐวงษ์, พสุภา ชินวรโสภาค, ศศิธร ศิลป์วุฒยา and กฤติกา พนาธนสาร. "การคาดประมาณประชากรข้ามชาติเพื่อพัฒนาบริการอนามัยแม่และเด็กใน กทม.." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3932">http://hdl.handle.net/11228/3932</a>.
.custom.total_download696
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year4
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2087.pdf
ขนาด: 2.142Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย