แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

เกษตรพันธสัญญา: ภาพรวมและบทสำรวจประเด็นปัญหาในประเทศไทย

dc.contributor.advisorสมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์th_TH
dc.contributor.advisorสมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์th_TH
dc.contributor.advisorยุวดี คาดการณ์ไกลth_TH
dc.contributor.authorนนท์ นุชหมอนth_TH
dc.contributor.authorNondh Nuchmornen_EN
dc.date.accessioned2014-02-12T08:17:14Zth_TH
dc.date.accessioned2014-06-26T03:31:04Z
dc.date.available2014-02-12T08:17:14Zth_TH
dc.date.available2014-06-26T03:31:04Z
dc.date.issued2556th_TH
dc.identifier.isbn9786163290168th_TH
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3967th_TH
dc.description.abstractในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมาภูมิทัศน์การเคลื่อนย้ายทรัพยากรอาหารทั้งภายในและระหว่างประเทศได้เปลี่ยนรูปแบบไป อย่างมากด้วยแรงผลักดันทั้งจากผู้บริโภคในสังคมสมัยใหม่และจากประเทศผู้นำเข้าที่ให้ความสำคัญกับปัจจัยด้าน คุณภาพและความปลอดภัยของอาหารมากขึ้นและจากผู้ผลิต โดยเฉพาะในกลุ่มบริษัทอุตสาหกรรมการเกษตรที่ได้ขยาย ตัวและปรับฐานะของตนเองจาก ‘คนกลาง’ ที่ทำหน้าที่เพียงจัดส่งระบาย/กักเก็บสินค้าจากเกษตรกร เข้ามามีบทบาทอื่นๆ ทางการตลาดที่ครบวงจรมากขึ้น เช่น การจัดจำหน่ายปัจจัยการผลิตการแปรรูปและการส่งออกหรือที่เรียกกันว่า ‘การรวมตัวในแนวดิ่ง’ (Vertical Integration) ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลให้การผลิตสินค้าอาหารของไทยหลายชนิดมุ่งสู่ทิศทางการพัฒนาที่เรียกว่า ‘กระบวนการกลายเป็นอุตสาหกรรม’ กล่าวคือ มีการเน้นการผลิตในปริมาณที่มากขึ้นและมีการใช้เทคโนโลยีทางการผลิตและการจัดการที่ทันสมัยมากขึ้นเพื่อเป้าหมายเชิงประสิทธิภาพต่างๆ เช่น การลดต้นทุนลดความ เสี่ยงหรือเพิ่มมูลค่าของผลผลิตมากที่สุด ในขณะที่เกษตรกรที่เดิมใช้ระบบการผลิตแบบครัวเรือนหรือในฟาร์มขนาดเล็ก (ซึ่งมีมูลค่าต่ำกว่าและมักจะเผชิญกับความเสี่ยงทางรายได้ที่สูง) จำนวนหนึ่งก็ต้องพยายามปรับตัวโดยสร้างความหลาก หลายของแหล่งรายได้ในฟาร์มมากขึ้น หรือไม่เช่นนั้นก็ผันตัวเองไปเป็นแรงงานนอกภาคการเกษตรซึ่งได้ผลตอบแทนทาง เศรษฐกิจที่สูงกว่า พลวัตเหล่านี้ได้เอื้อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบโครงสร้างตลาดสินค้าที่เกี่ยวเนื่องกับการเกษตร รวมทั้งนำมาสู่การเกิดขึ้นของระบบความสัมพันธ์แบบใหม่ระหว่างเกษตรกรและผู้เล่นอื่นๆ ในห่วงโซ่การผลิตที่เน้นการ รวมตัวและกำกับดูแลซึ่งกันและกันระหว่างขั้นตอนการตลาดมากขึ้นซึ่ง ‘เกษตรพันธสัญญา’ (Contract Farming) ถือ เป็นรูปแบบความสัมพันธ์หนึ่งที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์นี้th_TH
dc.description.sponsorshipมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพth_TH
dc.format.extent479776 bytesth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสำนักงานปฏิรูป (สปร.)th_TH
dc.rightsมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพth_TH
dc.titleเกษตรพันธสัญญา: ภาพรวมและบทสำรวจประเด็นปัญหาในประเทศไทยth_TH
dc.typeDocumentth_TH
dc.description.publicationหนังสือชุดนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการการสำรวจองค์ความรู้เพื่อการปฏิรูปประเทศไทยth_TH
dc.subject.keywordพันธสัญญาth_TH
dc.subject.keywordกฎหมายเกษตรกรรมth_TH
dc.subject.keywordเกษตรกรรมth_TH
.custom.citationนนท์ นุชหมอน and Nondh Nuchmorn. "เกษตรพันธสัญญา: ภาพรวมและบทสำรวจประเด็นปัญหาในประเทศไทย." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3967">http://hdl.handle.net/11228/3967</a>.
.custom.total_download3556
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month29
.custom.downloaded_this_year809
.custom.downloaded_fiscal_year91

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: Contract-Farming- ...
ขนาด: 544.9Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย