แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

Current strategic research on senile dementia and Alzheimer’s disease in Thailand

dc.contributor.authorวรพรรณ เสนาณรงค์th_TH
dc.contributor.authorVorapun Senanarongen_US
dc.date.accessioned2014-07-23T09:25:01Z
dc.date.available2014-07-23T09:25:01Z
dc.date.issued2557-07-22
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4098
dc.description.abstractภาวะสมองเสื่อมเป็นโรคเรื้อรังที่พบมากในผู้สูงอายุ มีสาเหตุจากความผิดปกติของการทำงานของ สมองด้านความจำและการรู้คิด โดยมีการเสื่อมของความจำเป็นอาการเด่น และมีอาการเปลี่ยนแปลง ทางด้านพฤติกรรมประสาทจิตเวช บุคลิกภาพ และอารมณ์ มีผลให้เสียความสามารถในการดูแลตนด้าน กิจวัตรประจำวันพื้นฐานและชั้นสูง การประมาณการความสูญเสียจากภาวะบกพร่องทางสุขภาพ จำแนก ตามสาเหตุของประเทศไทย พบ ภาวะสมองเสื่อมเป็นสาเหตูที่พบบ่อยอันดับ7ในประชากรเพศหญิง แผน ผู้สูงอายุแห่งชาติฉบั บที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) เป็นแม่แบบในการมุ่งพัฒนาประชากรผู้สูงอายุของไทย ในปัจจุบัน รัฐได้เริ่มสนันสนุนงานศึกษาวิจัยในผู้สูงอายุด้านต่างๆก่อนที่ประเทศไทยจัดเป็นสังคมผู้สูงอายุ เริ่มตั้งแต่ศึกษา ความชุก ปัจจัยเสี่ยง การตรวจคัดกรอง และอาการอาการแสดงด้วยต่างๆของภาวะสมอง เสื่อม ต่อมาได้มีการศึกษาในแง่สหวิชาการ คือศึกษาผลกระทบต่อญาติ ต่อ ผู้ป่วย ต่อสังคม ต่อเศรษ ศาสตร์สุขภาพ ในทศวรรตที่ผ่านมา รํฐเริ่มศึกษาวิจัยและพัฒนาในมิติรุกและรับมากขึ้น กล่าวคือ มีการศึกษา พัฒนายารักษาภาวะสมองเสื่อมจากสมุนไพรไทย มีการทดลองใช้ยารักษาผู้ป่วยสมองเสื่อม และมี การศึกษากลไกการเกิดโรคสมองเสื่อม เมื่อวิทยาศาตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น มีการชี้นำภาวะโรคสมองเสื่อม ก่อนมีอาการสมองเสื่อมโดยใช้เครื่องหมายชีวภาพ นักวิทยาศาสตร์ไทยก็เริ่มศึกษาเครื่องหมายชีวภาพใน ประชากรไทย ในระยะต่างๆของภาวะสมองเสื่อม การศึกษารักษาภาวะสมองเสื่อมโดยไม่ใช้ยา เป็นอีกมิติที่ภาครัฐสนับสนุนให้ศึกษาในผู้ป่วยสมอง เสื่อม ทั้งในด้านรักษาและป้องกัน หากแต่การป้องกันจะใช้งบประมาณสูง เนื่องจากการวัดประสิทธิผล ของการป้องกันควรประกอบด้วย การใช้เครื่องหมายชีวภาพที่มีความไวความจำเพาะต่อโรคที่ป้องกัน หรือศึกษาในประชากรจำนวนมากเป็นเวลาหลายปีว่าการป้องกันนั้นมีผลต่อการดำเนินก้าวหน้าของโรคที่ ศึกษาหรือไม่th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectสมองเสื่อมth_TH
dc.subjectอัลไซเมอร์th_TH
dc.titleCurrent strategic research on senile dementia and Alzheimer’s disease in Thailanden_US
dc.typePresentationen_US
dc.description.publicationเอกสารนำเสนอประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่อง “การพัฒนายุทธศาสตร์งานวิจัยเกี่ยวกับสมอง จิตใจ และพฤติกรรม” (Development of Research Strategies for Brain Mind and Behaviour) จัดโดย สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) วันที่ 21 – 23 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมจูปิเตอร์ (Jupiter) ชั้น 3 โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพฯth_TH
dc.subject.keywordAlzheimer's Diseaseen_US
.custom.citationวรพรรณ เสนาณรงค์ and Vorapun Senanarong. "Current strategic research on senile dementia and Alzheimer’s disease in Thailand." 2557. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4098">http://hdl.handle.net/11228/4098</a>.
.custom.total_download3819
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month36
.custom.downloaded_this_year528
.custom.downloaded_fiscal_year100

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: Vorapun_Alzheimer.pdf
ขนาด: 508.6Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

  • Presentations [882]
    เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย