แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

คู่มือการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นสำหรับผู้ปกครอง

dc.contributor.authorสมัย ศิริทองถาวรth_TH
dc.contributor.authorSamai Sirithongthawornen_US
dc.contributor.authorภิญโญ อิสรพงศ์th_TH
dc.contributor.authorPinyo Itsarapongen_US
dc.contributor.authorเพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์th_TH
dc.contributor.authorPenkarn Kanjanaraten_US
dc.contributor.authorวรรณกมล สอนสิงห์th_TH
dc.contributor.authorWannakamol Sonsinghen_US
dc.contributor.authorกชพงศ์ สารการth_TH
dc.contributor.authorKotchapong Sarakanen_US
dc.contributor.authorสุรีรักษ์ พิลาth_TH
dc.contributor.authorSureerak Pilaen_US
dc.contributor.authorพัชนี พัฒนกิจโกศลth_TH
dc.contributor.authorPatchanee Pattanakitkosolen_US
dc.contributor.authorนุจรี คำด้วงth_TH
dc.contributor.authorNootjaree Kamduangen_US
dc.date.accessioned2017-10-09T03:29:16Z
dc.date.available2017-10-09T03:29:16Z
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4787
dc.description.abstractโรคสมาธิสั้นเป็นโรคที่เด็กมีความผิดปกติที่สำคัญ 3 ด้าน คือ อาการขาดสมาธิ พฤติกรรมหุนหันพลันแล่น และอยู่ไม่นิ่งหรือซนผิดปกติการปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ไม่ดี ซึ่งทำให้เกิดปัญหาระหว่างผู้ปกครองกับเด็กได้ ปัญหาที่เกิดจากโรคสมาธิสั้นเป็นปัญหาระยะยาวและสามารถส่งผลด้านลบต่อพัฒนาการในวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ เช่น ต่อต้านสังคม ติดยาเสพติด และเกิดภาวะซึมเศร้าได้ ซึ่งการป้องกันการสูญเสียทรัพยากรบุคคลของประเทศจากโรคสมาธิสั้นในวัยเด็ก การให้การบำบัดและรักษาจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ดังนั้นการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นควรบูรณาการร่วมกันจากหลายภาคส่วน ทั้งผู้ปกครอง ครู และบุคลากรทางการแพทย์ ซึ่งจะทำให้การดูแลเด็กสมาธิสั้นมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ตระหนักในเรื่องดังกล่าว จึงได้มีการพัฒนาคู่มือการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นสำหรับผู้ปกครอง เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ในการคัดกรองอาการของเด็กและส่งเสริมผู้ปกครองให้ปรับพฤติกรรมเด็กโรคสมาธิสั้นได้อย่างสอดคล้องต่อเนื่องกับที่โรงเรียนและจากคำแนะนำของผู้ให้บริการทางการแพทย์ ทำให้เกิดเครือข่ายระหว่างผู้ปกครอง ครู และผู้ให้บริการทางการแพทย์ในการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการด้วย เพื่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีสำหรับเด็กโรคสมาธิสั้นต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์th_TH
dc.subjectโรคสมาธิสั้นth_TH
dc.subjectเด็กสมาธิสั้นth_TH
dc.subjectเด็กสมาธิสั้น--การดูแลth_TH
dc.subjectเด็กสมาธิสั้น--การรักษาth_TH
dc.subjectAttention-Deficit Hyperactivity Disorderen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleคู่มือการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นสำหรับผู้ปกครองth_TH
dc.typeDocumentth_TH
dc.identifier.callnoWS350.8 ส292ค 2560
dc.identifier.callnohs2360
dc.identifier.contactno59-008
dc.subject.keywordADHDen_US
.custom.citationสมัย ศิริทองถาวร, Samai Sirithongthaworn, ภิญโญ อิสรพงศ์, Pinyo Itsarapong, เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์, Penkarn Kanjanarat, วรรณกมล สอนสิงห์, Wannakamol Sonsingh, กชพงศ์ สารการ, Kotchapong Sarakan, สุรีรักษ์ พิลา, Sureerak Pila, พัชนี พัฒนกิจโกศล, Patchanee Pattanakitkosol, นุจรี คำด้วง and Nootjaree Kamduang. "คู่มือการคัดกรองและปรับพฤติกรรมเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นสำหรับผู้ปกครอง." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4787">http://hdl.handle.net/11228/4787</a>.
.custom.total_download678
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year23
.custom.downloaded_fiscal_year3

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2360.pdf
ขนาด: 3.018Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย