Browsing Documents/Pocket Books by Title
Now showing items 196-215 of 622
-
คน พิการ สื่อสาร สังคม : นานาทัศนะว่าด้วยความพิการและพื้นที่สื่อสารทางสังคม
(แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย, 2551-06)ตัวหนังสือส่วนใหญ่ในหนังสือเล่มนี้มีที่มาเบื้องต้นผ่านลมปาก แล้วตัวหนังสือที่ถอดมาจากลมผ่านปากต่างจากตัวหนังสืออื่นๆ อย่างไร? ในแง่หนึ่งมันอาจเป็นการทำงานที่แสนเรียบง่ายและใช้ทักษะในระดับต่ำกว่าการทำงานเขียนประเภทอื่นๆ ... -
คนจนในเมือง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08) -
ครอบครัวโยคะ
(แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารสุขภาพสู่ประชาชน สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-03)ครอบครัวโยคะ คือวรรณกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับทุกเพศทุกวัยในครอบครัว ผู้เขียนชักชวนให้คนอ่านได้สนใจกับการดูแลสุขภาพ โดยเริ่มจากสิ่งที่เราชอบ และจากคนที่อยู่ใกล้ตัว หนังสือเล่มนี้อาจจะทำให้หลายคนมีความรู้สึกสดชื่น กระชุ่มกระชวย ... -
ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (Effective Coverage) ของการบริการในสิทธิหลักประกันโรคเบาหวาน และโรคความดัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (Effective Coverage) ของการบริการในสิทธิหลักประกันโรคเบาหวาน และโรคความดัน เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมอย่างมีประสิทธิผล (Effective coverage) 2) ... -
ความงามกับการสร้างทางสังคม : การทำศัลยกรรมใบหน้าของผู้หญิงไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08) -
ความมั่นคงทางอาหารของคนไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08) -
ความรู้ท้องถิ่น วัฒนธรรมสุขภาพกับสังคมอาเซียน
(สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย ความรู้ท้องถิ่น ... -
ความรู้พื้นฐานด้านการเฝ้าระวัง สอบสวน ป้องกัน ควบคุมโรค สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)กระทรวงสาธารณสุขรับนโยบายจากรัฐบาล เมื่อปี พ.ศ. 2552 ให้ปรับปรุงระบบบริการสุขภาพของภาครัฐทุกระดับให้ได้มาตรฐาน โดยยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เนื่องจากเป็นนโยบายที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยตรง ... -
ความเข้าใจในนโยบายสาธารณะ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545) -
ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543) -
ความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04)ความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทยฉบับนี้ เป็นรายงานการสังเคราะห์สถานการณ์ของระบบประกันสุขภาพไทยในปัจจุบัน ที่มาจากรายงานผลการศึกษาต่างๆ และจากข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งหวังจะช่วยสะท้อนก ... -
ความไม่เป็นธรรมระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04-25) -
คำกล่าวของศ.นพ.วิจารณ์ พานิชในงานมหกรรมสุขภาพชุมชน 2552 ณ อิมแพคคอนเวนขั่นเซ็นเตอร์ เมืองทองธานี นนทบุรี วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-18) -
คำกล่าวเปิดการประชุมนโยบายลดความเหลื่อมล้ำเพื่อความเป็นธรรมด้านสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-05-25) -
คำแนะนำสำหรับผู้มีเชื้อดื้อยา
(โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)เอกสารแนะนำสำหรับผู้มีเชื้อดื้อยา -
คำแนะนำแนวทางปฏิบัติ : ข้อมูลที่จำเป็นเพื่อสนับสนุนการทดสอบทางคลินิกของผลิตภัณฑ์สมุนไพร
(สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2554-03) -
คือความดีงาม : โครงการถอดบทเรียนการปรับที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม เพื่อเพิ่มสมรรถนะคนพิการและผู้สูงอายุ จากนโยบายสู่การปฏิบัติ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559)กว่า 4 เดือนกับการลงพื้นที่ทำงานวิจัยเรื่อง “การปรับที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมเพื่อเพิ่มสมรรถนะคนพิการและผู้สูงอายุ: จากนโยบายสู่การปฏิบัติ” การทำงานนี้ทำให้ได้เรียนรู้ศักยภาพการทำงานของหน่วยงานต่างๆในชุมชนไม่ว่าจะเป็นหน ... -
คุณภาพของระบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)หนังสือเล่มนี้เป็นหนึ่งในหกเล่มของเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ครั้งที่ 3 เรื่อง ภูมิปัญญาประชาคม สู่สุขภาพประชาชาติไทย ระหว่างวันที่ 15-17 สิงหาคม 2543 ความพยายามของผู้เขียนในการรวบรวมและเรียบเร ... -
คู่มือ SNOMED CT ภาษาไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ในปี พ.ศ. 2556 สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.) ได้เริ่มศึกษาวิจัยมาตรฐานสากล Systematized Nomenclature of Medicine Clinical Terms (SNOMED CT) ซึ่งเป็นระบบศัพท์ทางการแพทย์มีความครอบคลุมการแพทย์ในสาขาต่างๆ ทั้ง ... -
คู่มือ อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชน การจัดการภาวะวิกฤต หลังการระบาดของโรคโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เป็นผู้มีความสำคัญในการดำเนินงานด้านจัดการสุขภาพชุมชนในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 โดยการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน นอกจากนี้ยังมีบทบาทเป็นผู้นำพฤติกรรมด้านสุขภาพอนามัย ...