Browsing Documents/Pocket Books by Title
Now showing items 303-322 of 625
-
ถอดบทเรียนการพัฒนาระบบบริการแพทย์แผนไทยจังหวัดสุราษฎร์ธานี
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-01)ศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นวิถีของการดูแลสุขภาพและการวินิจฉัยโรคที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมและประเพณีของไทยมาอย่างยาวนาน เนื่องจากมีการใช้สมุนไพรทั้งในรูปแบบของอาหารและยา เพื่อใช้ในการนวด การอบ การประคบ ... -
ถอดบทเรียนโครงการอบรมผลิตรายการโทรทัศน์ DEAF ไทยไปเที่ยว : เสียงที่ไม่เคยหายไปจากโลกความเงียบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)จากจุดเริ่มต้นที่ลองให้คนหูหนวกผลิตหนังสั้น สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดผ่านการกระบวนการผลิตหนังสั้นก็คือ คนหูหนวกมีทักษะในการคิดและเล่าเรื่องด้วยภาพ หากพิจารณาให้ดีแล้ว ทักษะการเล่าเรื่องด้วยภาพเป็นทักษะสำคัญทักษะหนึ่งเลยทีเด ... -
ทบทวนวรรณกรรมน้ำท่วมกับสุขภาพ
(สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย ภัยพิบัติ: ... -
ทะเบียนอุปกรณ์ภูมิปัญญาชุมชนสำหรับคนพิการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)หนังสือ ทะเบียนอุปกรณ์ภูมิปัญญาชุมชนสำหรับคนพิการ เล่มนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้ภูมิปัญญาชุมชนในการสร้างสรรค์อุปกรณ์คนพิการที่ช่วยเหลือในการฟื้นฟู ช่วยเหลือการเคลื่อนไหว ช่วยเหลือในการทำงาน จากการสำรวจข้อมูลอุ ... -
ทำไมผู้ป่วยฟ้องร้องแพทย์ : กรณีว่าด้วยการฟ้องรองแพทย์จาก "15 กรณีศึกษาว่าด้วยความทุกข์กับระบบบริการสุขภาพ
(มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค, 2542) -
ทิศทางสาธารณสุขมูลฐานในทศวรรษที่สี่ของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02)จากสาธารณสุขมูลฐานสู่สุขภาพชุมชน: ข้อเสนอสำหรับผู้กำหนดนโยบายและทีมสุขภาพชุมชน การสาธารณสุขมูลฐานเป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับกันอย่างกว้างขวาง หลังคำประกาศ Alma Ata ในปี ค.ศ.1978 โดยมีเป้าหมายคือ ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี ... -
ทุกข์ สมุทัย ในระบบสาธารณสุข และหลักประกันสุขภาพคนไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539) -
ทุกข์แห่งเมือง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08) -
ธุรกิจคิดไม่เล็ก : ธุรกิจเล็กๆ ที่เกิดจากหัวใจและความคิดไม่เล็กจากคนพิการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.) ได้จัดทำโครงการเพิ่มโอกาสด้านการมีอาชีพและรายได้ของคนพิการและการขยายเครือข่ายการประกอบการด้านสังคมของคนพิการ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ... -
นวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ... -
นิยามศัพท์ส่งเสริมสุขภาพ ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2541
(โครงการสำนักพิมพ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541) -
นิเวศวิทยาแนวลึกและกระบวนทัศน์สุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08) -
นโยบายการเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ
(สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย การแพทย์ข้ามพร ... -
นโยบายสาธารณะ : ความเกี่ยวพันกับระบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545) -
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)เอกสารชุดนี้รวบรวมแนวคิดเรื่อง นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ มานำเสนอเพื่อให้เห็นทางออกใหม่ๆ ในเรื่องสุขภาพ เริ่มต้นด้วยการทบทวนความเป็นมาของแนวคิดของการส่งเสริมสุขภาพ และนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในตอนที่ 1 การทบทวนกฎหมายที่เก ... -
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : แนวคิด ความรู้ และการเคลื่อนไหว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547) -
นโยบายสุขภาพเพื่อคุณภาพชีวิตของคนไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550) -
นโยบายสุขภาพใหม่ของโลกศตวรรษที่ 21 : มุมมองขององค์กรพัฒนาเอกชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541) -
นโยบายและแนวทางการวิจัยของชาติระยะยาว : ความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในสังคมไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-09) -
บทคัดย่อผลงาน R2R ปี 2555 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 5 (Routine to research : R2R) : วิถี R2R เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร วันที่ 10-12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-07)เอกสารฉบับนี้ได้รวบรวมผลงานวิจัย R2R ปี 2555 ที่ผ่านการพิจารณาตัดสินรอบแรก เพื่อเป็นฐานข้อมูลความรู้และสนับสนุนให้เกิดการขับเคลื่อนงานวิจัยอย่างต่อเนื่อง