Now showing items 1-9 of 9

    • eHealth in Thailand: Interoperability and Health Information Standards 

      Boonchai Kijsanayotin; Win Min Thit; Warithnan Thanapak; Niramai Nareenuch; Benjakarn Leelakittisin; Phatcharanan Khongmun; Wanchana Ponthongmak; Panu Looareesuwan (Thai Health Information Standards Development Center, Health System Research Institute, 2559-06)
      Interoperability of different health information systems is one of the major challenges for countries to develop functional, integrated and effective health information systems. It is evident that the lack of uniform ...
    • Lit the FHIR in Thailand By SIL-TH 

      รัฐ ปัญโญวัฒน์; Rath Panyowat; กวิน สิริกวิน; Kwin Sirikwin; ธนภพ ณ นครพนม; Thanaphop Na Nakhonphanom; ณัฐดนัย ไทยพิพัฒน์; Natdanai Thaipipat; ศุภฤกษ์ ถวิลลาภ; Supharerk Thawillarp (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      มาตรฐาน Health Level 7 Fast Health Interoperability Resources (HL7 FHIR) เป็นมาตรฐานข้อมูลสุขภาพในกลุ่ม structural and syntactic data standard ที่ได้รับการยอมรับและหลายประเทศกำหนดให้เป็นมาตรฐานข้อมูลสุขภาพของประเทศ เช่น ...
    • กระบวนการจัดทำและแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพแห่งชาติ ผ่านกระบวนสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็น 

      แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ; Health Information System Development Office (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขแผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2553)
      ในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2553-2562 มีกระบวนและขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้ 1. ศึกษาวิเคราะห์ทบทวนสถานการณ์ด้านระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพในแต่ละด้านร่วมกับภาคีเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญที่ ...
    • คู่มือ SNOMED CT ภาษาไทย 

      ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์; Daorirk Sinthuvanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2556 สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.) ได้เริ่มศึกษาวิจัยมาตรฐานสากล Systematized Nomenclature of Medicine Clinical Terms (SNOMED CT) ซึ่งเป็นระบบศัพท์ทางการแพทย์มีความครอบคลุมการแพทย์ในสาขาต่างๆ ทั้ง ...
    • บัญชีข้อมูลยาและรหัสยามาตรฐานไทย 

      วริทธิ์นันท์ ศุภารักษ์สืบวงศ์; Warithnan Suparaksuebwong; วรนันท์ สาลียงพวย; Woranan Saleeyongpuay; กิตติ อัคควัฒนกุล; Kitti Akkawattanakul; พิรญาณ์ สายชล; Piraya Saichol; บุศรา จินตวง; Butsara Chintuang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2556 คณะกรรมการกำหนดระบบบริหารยา เวชภัณฑ์ การเบิกจ่ายค่าตรวจวินิจฉัยและค่าบริการทางการแพทย์ ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธาน ได้มอบหมายให้ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.) (ปัจจุบันคือ ...
    • บัญชีข้อมูลและรหัสมาตรฐานการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ไทย 

      คิดคม สเลลานนท์; Kidkom Salelanont (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ในปี พ.ศ. 2555 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้เริ่มแผนงานวิจัยและพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพ และได้จัดตั้งศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.) (ปัจจุบันคือ สำนักพัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (สมสท.)) ...
    • มาตรฐาน LOINC กับระบบข้อมูลสุขภาพของไทย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; ดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์; Boonchai Kijsanayotin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-02)
      ประเทศไทยยังไม่มีรหัสมาตรฐานด้านการตรวจทางคลินิกซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ข้อมูลทางคลินิกที่เกี่ยวข้องกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางคลินิก (Laboratory Information) ของหน่วยงานต่างๆ ไม่สามารถทำงานร่วมกันได้ การมีรหัสมาตร ...
    • แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*15:02 เพื่อประกอบการใช้ยา carbamazepine ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศยามล สุขขา; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นุสรา สัตย์เพริดพราย; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...
    • แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*58:01 เพื่อประกอบการใช้ยา allopurinol ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 

      ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ; Pramote Tragulpiankit; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; จิระพรรณ จิตติคุณ; ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์; เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา; พิชญา ดิลกพัฒนมงคล; ศยามล สุขขา; วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; นพดล จันทร์หอม; ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์; อรวิภา โรจนาธิโมกข์; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ; นุสรา สัตย์เพริดพราย; นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา; ศศิธร มามีชัย; สุทธิเกียรติ สำเภา; ดวงใจ ตันติยาภรณ์; สมรัฐ ตระกูลกาญจน์; นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์; รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย; พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล; ระวีวรรณ ยิ้มแพร; ธิรดา ศรีอาวุธ; นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค; สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ; เกษฎา ทันวงษา; มาลินี ชลนวกุล; ยงยุทธิ์ นันทจินดา; วันเพ็ญ สุขส่ง; สุพนิดา อุทปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ...