Now showing items 201-220 of 625

    • ถอดบทเรียนโครงการอบรมผลิตรายการโทรทัศน์ DEAF ไทยไปเที่ยว : เสียงที่ไม่เคยหายไปจากโลกความเงียบ 

      มนต์ศักดิ์ ชัยวีระเดช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      จากจุดเริ่มต้นที่ลองให้คนหูหนวกผลิตหนังสั้น สิ่งหนึ่งที่เห็นได้ชัดผ่านการกระบวนการผลิตหนังสั้นก็คือ คนหูหนวกมีทักษะในการคิดและเล่าเรื่องด้วยภาพ หากพิจารณาให้ดีแล้ว ทักษะการเล่าเรื่องด้วยภาพเป็นทักษะสำคัญทักษะหนึ่งเลยทีเด ...
    • แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะประชากรสาธารณสุขต่างด้าวในประเทศไทย ระยะที่ 1 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; บงกช นภาอัมพร; Bongkot Napaumporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2558-09-15)
      วัตถุประสงค์ (Objectives) (1) ทบทวนสถานการณ์ด้านปัญหาสุขภาวะของประชากรสาธารณสุขต่างด้าวในประเทศไทย อันนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาที่บุคคลดังกล่าวประสบ (Situation Analysis) โดยผ่าน กรณีศึกษา (Case Studies) ในแต่ละพื้นที่ ...
    • คู่มือการใช้แบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัย 

      นงเยาว์ เกษตร์ภิบาล; Nongyao Kasatpibal; ยอดยิ่ง ปัญจสวัสดิ์วงศ์; Yodying Punjasawadwong; จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ; Jittaporn Chitreecheur; นเรนทร์ โชติรสนิรมิต; Narain Chotirosniramit; สมใจ ศิระกมล; Somjai Sirakamon; ปาริชาติ ภัควิภาส; Parichat Pakvipas (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-02)
      ความปลอดภัยของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด เป็นประเด็นที่องค์การอนามัยโลกและโรงพยาบาลทุกแห่งทั่วโลกให้ความสำคัญ องค์การอนามัยโลกจึงได้พัฒนาแบบตรวจสอบรายการผ่าตัดปลอดภัย (WHO surgical safety checklist) ขึ้น เพื่อลดจำนวนเหตุก ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพและการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux; สายสิริ อิสรชาญวาณิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      ปัจจุบันการกระจายอำนาจด้านสุขภาพยังมีความก้าวหน้าไม่มากพอ ประกอบกับเป็นช่วงเวลาที่มีการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่และการปฏิรูปประเทศ สวรส.จึงได้ทบทวน วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อค้นพบและเรียบเรียงข้อเสนอแนะจากผลงานวิจัยต่างๆ ที่ผ่านมา ...
    • คู่มือส่งเสริมการใช้เบาะนิรภัยเด็กในรถยนต์สำหรับบุคลากรในโรงพยาบาล 

      ศิริกุล กุลเลียบ; นิตยาภรณ์ สีหาบัว; อภิชาติ ก้องเสียง; ภัคจิรา เขื่อนโยธา; ขวัญนาค กุลเลียบ; อภิญญา มานิล; จริญาภรณ์ วงษ์สีเทพ (โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมพลังเครือข่ายแผนสอจร สำนักงานสอจร. โรงพยาบาลขอนแก่น, 2558-07)
      คู่มือส่งเสริมการใช้เบาะนิรภัยเด็กในรถยนต์สำหรับบุคลากรในโรงพยาบาล เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่ ในการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมหนูน้อยปลอดภัยจากการใช้เบาะนิรภัยเด็กในรถยนต์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ...
    • คู่มือการใช้เบาะนิรภัยเด็กในรถยนต์ สำหรับผู้ปกครองเด็ก 

      ศิริกุล กุลเลียบ; นิตยาภรณ์ สีหาบัว; อภิชาติ ก้องเสียง; ภัคจิรา เขื่อนโยธา; ขวัญนาค กุลเลียบ; จริญาภรณ์ วงษ์สีเทพ; อภิญญา มานิล (โครงการพัฒนาศักยภาพและเสริมพลังเครือข่ายแผนสอจร สำนักงานสอจร. โรงพยาบาลขอนแก่น, 2558-07)
      คู่มือการใช้เบาะนิรภัยเด็กในรถยนต์ สำหรับผู้ปกครอง สำหรับใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับผู้ปกครอง ในการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมหนูน้อยปลอดภัยจากการใช้เบาะนิรภัยเด็กในรถยนต์ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองมีความรู้ ...
    • การพัฒนาธุรกิจคนพิการ 

      อาภาพรรณ ชนานิยม; Arpaparn Chananiyom; วัชรา ริ้วไพบูลย์; Wachara Riewpaiboon; วรรณพร บุญเรือง; Wannaporn Boonrueng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-07)
      ปัจจุบันจำนวนคนพิการในประเทศไทย มีมากกว่า 1.5 ล้านคน ซึ่งแม้ว่าจะมีความพิการที่หลากหลาย แต่ทว่า หลายหน่วยงานพยายามช่วยส่งเสริมให้คนพิการทุกประเภทได้ใช้ศักยภาพที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ สามารถสร้างรายได้ให้ตนเองและครอบครัวได้ ...
    • หกล้ม เรื่องไม่คาดฝันแต่ป้องกันได้ 

      รัมภา บุญสินสุข; สายธิดา ลาภอนันตสิน; ชุธิพัธ จิววะสังข์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      เรื่องหกล้มเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน มีคำกล่าวไว้ว่า เด็กๆยิ่งหกล้ม จะยิ่งโตไวขึ้น เพราะการล้มในเด็กมักเกิดจากการที่เด็กวิ่งกระโดดโลดเต้น หรือทำกิจกรรมสนุกสนานต่างๆที่เป็นการกระตุ้นการสร้างกระดูกให้แข็งแรง ...
    • ธุรกิจคิดไม่เล็ก : ธุรกิจเล็กๆ ที่เกิดจากหัวใจและความคิดไม่เล็กจากคนพิการ 

      โอปอล์ ประภาวดี; Opal Prapavadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.) ได้จัดทำโครงการเพิ่มโอกาสด้านการมีอาชีพและรายได้ของคนพิการและการขยายเครือข่ายการประกอบการด้านสังคมของคนพิการ ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ...
    • ถอดบทเรียนการพัฒนาระบบบริการแพทย์แผนไทยจังหวัดสุราษฎร์ธานี 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; สุธีรดา ฉิมน้อย; Sutheerada Chimnoi; ณัฐธิดา สุขเรืองรอง (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-01)
      ศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นวิถีของการดูแลสุขภาพและการวินิจฉัยโรคที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมและประเพณีของไทยมาอย่างยาวนาน เนื่องจากมีการใช้สมุนไพรทั้งในรูปแบบของอาหารและยา เพื่อใช้ในการนวด การอบ การประคบ ...
    • คู่มือการดำเนินงานโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      คณะอนุกรรมการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2558)
      คู่มือการดำเนินการโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลฉบับนี้ จัดทำขึ้นตามกุญแจสำคัญ 6 ประการของการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (PLEASE) โดยคณะทำงานและผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในแต่ละด้าน ...
    • คู่มือการควบคุมและป้องกันแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)
      มนุษย์มียาต้านจุลชีพขนานแรกๆ เมื่อประมาณ 70 ปีก่อน ในครั้งนั้น ยาต้านจุลชีพ ได้รับการขนานนามว่า “ยาปาฏิหาริย์” (miracle drug หรือ wonder drug) เนื่องจากยานี้ทำให้มนุษย์จำนวนมากรอดตายจากการติดเชื้อ องค์การวิชาชีพหลายแห่งเ ...
    • คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียด้วยยาปฏิชีวนะที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      Visanu Thamlikitkul; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-05)
      มนุษย์มียาต้านจุลชีพขนานแรกๆ เมื่อประมาณ 70 ปีก่อน ในครั้งนั้น ยาต้านจุลชีพ ได้รับการขนานนามว่า “ยาปาฏิหาริย์” (miracle drug หรือ wonder drug) เนื่องจากยานี้ทำให้มนุษย์จำนวนมากรอดตายจากการติดเชื้อ องค์การวิชาชีพหลายแห่งเ ...
    • แนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาและการติดเชื้อจากการสอดใส่อุปกรณ์การแพทย์ 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ (โรงพิมพ์มิ่งเมือง, 2557-03)
      การติดเชื้อในโรงพยาบาลจากเชื้อแบคทีเรียที่ดื้อยาต้านจุลชีพหลานขนานมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากการสอดใส่อุปกรณ์ทางการแพทย์เข้าสู่ร่างกายของผู้ป่วย โรงพยาบาลหลายแห่งพบว่า เชื้อแบคทีเรียดื้อยาเป็นสาเหตุสำคัญข ...
    • การทบทวนชุดสิทธิประโยชน์และการเข้าถึงบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ 

      ธีระ ศิริสมุด; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; สุรชัย โกติรัมย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ทรงยศ พิลาสันต์; วันทนีย์ กุลเพ็ง; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2557-10)
      ปัจจุบันประเทศไทยมีคนพิการที่ขึ้นทะเบียนคนพิการประมาณ 1.5 ล้านคน และยังมีคนพิการจำนวนมากที่เข้าไม่ถึงบริการหรือสวัสดิการของรัฐ เช่น ไม่ได้รับอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ ทั้งที่มีความจำเป็น การที่คนพิการเข้าไม่ถึงบริการสุขภาพ ...
    • วิจัย เปลี่ยนชีวิต 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09)
      “วิจัย” เป็นกระบวนการที่มนุษย์ใช้เรียนรู้ที่จะปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต และใช้เป็นวิธีที่จะเติมเต็มช่องว่างที่ขาดหายไปในการดำเนินชีวิต เพื่อให้เกิดความสมบูรณ์หรือทำสิ่งที่คาดหวังไว้ให้เกิดขึ้น งานวิจัยมีขอบเขตกว้างขวาง ...
    • รายงานประจำปี 2556 : สถานการณ์ระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      พัชนี ธรรมวันนา; ณัฐินี บัณฑะวงศ์; แสงจันทร์ ชาติประสิทธิ์ (สำนักงานเขตบริการสุขภาพ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร และ สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2557-04)
      สำนักตรวจราชการกระทรวง เขตพื้นที่เครือข่ายบริการส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์ระยะ 5 ปี (2556–2560) เพื่อพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีคณะกรรมการบริหารจัดการระบบสุขภาพเขตพื้น ...
    • ข้อเสนอรูปแบบองค์กร โครงสร้าง บทบาทหน้าที่และกลไกความเชื่อมโยงเพื่อการจัดตั้งศูนย์สารสนเทศกลางเพื่อการจัดการข้อมูลหลักประกันสุขภาพ 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2557-02-01)
      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาข้อเสนอ รูปแบบองค์กร ขอบเขต บทบาท ภารกิจ โครงสร้าง กลไกและความเชื่อมโยงของหน่วยงานศูนย์สารสนเทศกลาง เพื่อการจัดการหลักประกันสุขภาพ หรือ National Data Clearing House (NDCH) โดยประมวลจา ...
    • การสำรวจแนวคิดและวิธีการว่าด้วยการศึกษาภาพและภาพถ่ายในฐานะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 

      นภนาท อนุพงศ์พัฒน์; Nopphanat Anuphongphat (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2557)
      การศึกษาประวัติศาสตร์นั้นสามารถศึกษาผ่านสิ่งที่เรียกว่า หลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้หลายประเภท อาทิ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรอย่าง จดหมาย เอกสาร บันทึก สมุดบันทึกส่วนตัว บทความในหนังสือพิมพ์ ฯลฯ ที่หลงเหลือมาจากอดีต ...
    • การประชุมเชิงปฎิบัติการ สมรรถนะทางวัฒนธรรมในระบบสุขภาพ : องค์ความรู้สู่การวิจัยเชิงคุณภาพ 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2557)
      วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อสร้างเสริมสมรรถนะทางวัฒนธรรมให้กับบุคลากรสุขภาพ ให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม เสริมให้เห็นมุมมองที่ละเอียดอ่อนในมิติของความเป็นมนุษย์และการดูแลรักษาผู้ป่วย ...