แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*58:01 เพื่อประกอบการใช้ยา allopurinol ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564
dc.contributor.author | ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ | th_TH |
dc.contributor.author | Pramote Tragulpiankit | th_TH |
dc.contributor.author | อุษา ฉายเกล็ดแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | จิระพรรณ จิตติคุณ | th_TH |
dc.contributor.author | ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา | th_TH |
dc.contributor.author | พิชญา ดิลกพัฒนมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | ศยามล สุขขา | th_TH |
dc.contributor.author | วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี | th_TH |
dc.contributor.author | นพดล จันทร์หอม | th_TH |
dc.contributor.author | ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์ | th_TH |
dc.contributor.author | อรวิภา โรจนาธิโมกข์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุรัคเมธ มหาศิริมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา | th_TH |
dc.contributor.author | สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ | th_TH |
dc.contributor.author | นุสรา สัตย์เพริดพราย | th_TH |
dc.contributor.author | นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา | th_TH |
dc.contributor.author | ศศิธร มามีชัย | th_TH |
dc.contributor.author | สุทธิเกียรติ สำเภา | th_TH |
dc.contributor.author | ดวงใจ ตันติยาภรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สมรัฐ ตระกูลกาญจน์ | th_TH |
dc.contributor.author | นภวรรณ เจียรพีรพงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย | th_TH |
dc.contributor.author | พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ระวีวรรณ ยิ้มแพร | th_TH |
dc.contributor.author | ธิรดา ศรีอาวุธ | th_TH |
dc.contributor.author | นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค | th_TH |
dc.contributor.author | สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ | th_TH |
dc.contributor.author | เกษฎา ทันวงษา | th_TH |
dc.contributor.author | มาลินี ชลนวกุล | th_TH |
dc.contributor.author | ยงยุทธิ์ นันทจินดา | th_TH |
dc.contributor.author | วันเพ็ญ สุขส่ง | th_TH |
dc.contributor.author | สุพนิดา อุทปา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-06-21T05:05:47Z | |
dc.date.available | 2022-06-21T05:05:47Z | |
dc.date.issued | 2564-06 | |
dc.identifier.isbn | 9786164435797 | |
dc.identifier.other | hs2816 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5609 | |
dc.description.abstract | การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นเรื่องที่มีความสำคัญและส่งผลต่อการใช้ยาอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัยรวมทั้งค่าใช้จ่ายของระบบสุขภาพในการจัดการดูแลผู้ป่วย เภสัชพันธุศาสตร์เป็นความรู้ที่นำข้อมูลทางพันธุกรรมมาใช้สำหรับการดูแลรักษาผู้ป่วย ซึ่งจะทำให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้ยาบำบัดรักษา ขณะที่ผู้ป่วยจะเกิดความปลอดภัยสูงสุด โดยผลลัพธ์ในระดับบุคคลจะสามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยได้อย่างเต็มที่ และในที่สุดจะทำให้เกิดผลต่อผลลัพธ์ทางค่าใช้จ่ายอย่างคุ้มค่าในที่สุด การตรวจตัวบ่งชี้ทางเภสัชพันธุศาสตร์มีบทบาทสำคัญในการตอบสนองหรือไม่ตอบสนองต่อประสิทธิภาพของยา หลีกเลี่ยงเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา และกำหนดขนาดการใช้ยาที่เหมาะสม ซึ่งเป็นเรื่องค่อนข้างใหม่ในประเทศไทย และยังขาดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและมาตรฐานในการส่งตรวจ แปลผล และการนำไปใช้ประกอบการจัดการดูแลผู้ป่วย ดังนั้น โครงการวิจัย “เภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศไทย” จึงเป็นโครงการที่บูรณาการของการนำความรู้ทางเภสัชพันธุศาสตร์มาประยุกต์ใช้สำหรับการดำเนินการในทางปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงของระบบการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย โดยเป็นการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ต่างๆ ประกอบกัน ซึ่งโครงการวิจัยประกอบด้วย 5 กิจกรรม ได้แก่ 1) การศึกษาเพื่อประเมินความถี่ของการสั่งจ่ายยาที่มีข้อบ่งชี้ในการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ของผู้ป่วยที่ รับการรักษาในโรงพยาบาล 2) การพัฒนาแนวปฏิบัติทางเภสัชกรรม และฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการตัดสินใจทางคลินิก 3) การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพหุสัณฐานและการกลายพันธุ์ที่สัมพันธ์กับการใช้ยาสมเหตุผล 4) การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประกอบระบบ Clinical Decision Support สำหรับข้อมูลทางเภสัชพันธุศาสตร์ และ 5) การศึกษาทางเศรษฐศาสตร์คลินิกเพื่อประเมินความคุ้มค่าในการใช้ข้อมูลเภสัชพันธุศาสตร์เพื่อประกอบ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลในบริบทของประเทศไทย ผลการวิจัยจากกิจกรรมที่ 2 ที่เป็นรูปธรรมและคาดว่าจะเป็นเครื่องมือสำหรับเป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศ คือ หนังสือเล่มนี้ที่จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ผลการวิจัยที่นำเภสัชพันธุศาสตร์เข้ามาใช้เพื่อการเลือกใช้ยาที่เหมาะสม เป็นแนวทางในการเลือกผู้ป่วยเพื่อส่งคัดกรองยีน ใช้ประโยชน์ในการประกอบการตัดสินใจทางคลินิก สำหรับผู้ป่วยที่จำเป็นต้องให้ยา allopurinol หัวหน้าโครงการวิจัยนี้เป็นผู้ที่อยู่ในแวดวงวิชาการเรื่องการแพ้ยามานาน ได้เห็นผู้ป่วยในการแพ้ยาชนิดต่างๆ และมีผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอีกจำนวนไม่น้อย หนังสือเล่มนี้จึงเหมาะสมอย่างยิ่งสำหรับสหวิชาชีพ ทั้งแพทย์ เภสัชกร พยาบาล และนักเทคนิคการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เภสัชกรที่ทำงานให้การบริบาลทางเภสัชกรรม และเภสัชกรที่มีหน้าที่โดยตรงในการประเมินการแพ้ยาของผู้ป่วย ที่ต้องอ่านเพื่อให้เข้าใจศาสตร์แขนงนี้และนำไปใช้ประโยชน์ และนำเสนอแพทย์เพื่อคัดกรองผู้ป่วยก่อนตัดสินใจ ส่งตรวจยีน ตลอดจนการให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยเมื่อผลการตรวจยีนออกมาแล้วเพื่อการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง และสำหรับโรงพยาบาลที่มีการใช้ยาดังกล่าวควรวางระบบการตรวจตัวบ่งชี้ทางพันธุศาสตร์เหล่านี้ สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบ เข้าใจ และดำเนินการตามระบบที่วางไว้ เพื่อลดการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่ร้ายแรงและเพิ่มความปลอดภัยให้ผู้ป่วยในการใช้ยา | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, กองการแพทย์จีโนมิกส์และสนับสนุนนวัตกรรม กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และ สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การใช้ยา | th_TH |
dc.subject | Drug Use | th_TH |
dc.subject | การรักษาด้วยยา | th_TH |
dc.subject | Drug Treatment | th_TH |
dc.subject | การใช้ยา | th_TH |
dc.subject | การวิเคราะห์ความคุ้มทุน | th_TH |
dc.subject | ยา--ค่าใช้จ่าย | th_TH |
dc.subject | การใช้ยาอย่างสมเหตุผล | th_TH |
dc.subject | เภสัชพันธุศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | Pharmacogenomics | th_TH |
dc.subject | พันธุกรรม | th_TH |
dc.subject | Allopurinol | th_TH |
dc.subject | ข้อมูลสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | Health Information System | th_TH |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.title | แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*58:01 เพื่อประกอบการใช้ยา allopurinol ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 | th_TH |
dc.type | Document | th_TH |
dc.description.publication | ภายใต้โครงการ เภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการใช้ยาสมเหตุผลในประเทศไทย | th_TH |
dc.identifier.callno | QV55 ป451น 2564 | |
dc.identifier.contactno | 61-080 | |
dc.subject.keyword | Rational Drug Use | th_TH |
.custom.citation | ปราโมทย์ ตระกูลเพียรกิจ, Pramote Tragulpiankit, อุษา ฉายเกล็ดแก้ว, จิระพรรณ จิตติคุณ, ศุภทัต ชุมนุมวัฒน์, เจนนิษฐ์ มีนวัฒนา, พิชญา ดิลกพัฒนมงคล, ศยามล สุขขา, วิภารักษ์ รัตนวิภานนท์, เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี, นพดล จันทร์หอม, ศุภรัตน์ สุวิชาพาณิชย์, อรวิภา โรจนาธิโมกข์, สุรัคเมธ มหาศิริมงคล, นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา, สุกัญญา วัฒนาโภคยกิจ, นุสรา สัตย์เพริดพราย, นเรนทร์ฤทธิ์ กรุณา, ศศิธร มามีชัย, สุทธิเกียรติ สำเภา, ดวงใจ ตันติยาภรณ์, สมรัฐ ตระกูลกาญจน์, นภวรรณ เจียรพีรพงศ์, อรวรรณ ไชยมหาพฤกษ์, รุ่งกานต์ พรรณารุโณทัย, พรพิศ ตรีบุพชาติสกุล, ระวีวรรณ ยิ้มแพร, ธิรดา ศรีอาวุธ, นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค, สกาวรัตน์ กรบงกชมาศ, เกษฎา ทันวงษา, มาลินี ชลนวกุล, ยงยุทธิ์ นันทจินดา, วันเพ็ญ สุขส่ง and สุพนิดา อุทปา. "แนวปฏิบัติทางเภสัชกรรมคลินิกสำหรับการตรวจลักษณะทางพันธุกรรม HLA-B*58:01 เพื่อประกอบการใช้ยา allopurinol ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564." 2564. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5609">http://hdl.handle.net/11228/5609</a>. | |
.custom.total_download | 38 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 15 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 4 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
ฉบับเต็ม
ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้
-
Documents/Pocket Books [625]
เอกสารเผยแพร่/พ็อกเกตบุ๊ก