Show simple item record

Key Highlights for Layperson

dc.contributor.authorวิชัย โชควิวัฒนth_TH
dc.contributor.authorVichai Chokevivatth_TH
dc.contributor.authorจันทรา เหล่าถาวรth_TH
dc.contributor.authorJantra Laothavornth_TH
dc.contributor.authorขวัญชนก ยิ้มแต้th_TH
dc.contributor.authorKwanchanok Yimtaeth_TH
dc.contributor.authorพรรณทิพา ว่องไวth_TH
dc.contributor.authorPhanthipha Wongwaith_TH
dc.contributor.authorสุพัตรา ปรศุพัฒนาth_TH
dc.contributor.authorSupatra Porasuphatanath_TH
dc.contributor.authorประทุม สร้อยวงค์th_TH
dc.contributor.authorPratum Soivongth_TH
dc.date.accessioned2023-03-22T04:41:55Z
dc.date.available2023-03-22T04:41:55Z
dc.date.issued2566
dc.identifier.otherhs2956
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5834
dc.description.abstractหนังสือ กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน เล่มนี้ จัดทำขึ้นในโครงการพัฒนาศักยภาพของกรรมการจริยธรรมที่เป็นผู้แทนภาคประชาชน ครั้งที่ 1 โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้กรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่เป็นผู้แทนภาคประชาชนทำหน้าที่ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมในการพิจารณาจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในมนุษย์ ทั้งนี้ เพื่อทำให้อาสาสมัครในโครงการวิจัย ได้รับการปกป้องดูแลและมีความปลอดภัยจากการเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครในโครงการวิจัย การพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์จำเป็นที่ต้องได้รับมุมมอง ความเห็นจากกรรมการที่เป็นตัวแทนภาคประชาชน เพื่อสะท้อนมุมมองของอาสาสมัคร ทั้งในด้านความเสี่ยง ประโยชน์ การคัดเลือกอาสาสมัคร ผลประโยชน์ทับซ้อน รวมทั้งกระบวนการในการขอความยินยอมและเนื้อหาในเอกสารที่ให้อาสาสมัครได้รับทราบเกี่ยวข้องกับโครงการวิจัย เนื่องจากกรรมการที่เป็นตัวแทนภาคประชาชนไม่มีอคติที่เกิดจากความชำนาญทางวิชาชีพในการทำวิจัย ซึ่งเป็นบริบทที่ใกล้เคียงกับบริบทของอาสาสมัครมากที่สุด ดังนั้น กรรมการที่เป็นตัวแทนภาคประชาชนจำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่เกี่ยวข้องดังกล่าว หนังสือเล่มนี้จึงเป็นคู่มือสำคัญสำหรับกรรมการที่เป็นตัวแทนภาคประชาชน โดยนำเสนอหลักการและแนวปฏิบัติการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยที่สำคัญ ในรูปแบบที่กระชับเหมาะแก่การใช้อ้างอิงอย่างรวดเร็วและมีเนื้อหาที่จำเป็นต่อการพิจารณาของกรรมการฯ สามารถใช้เป็นแนวทางในการทบทวนพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ได้ โดยหวังว่ากรรมการที่เป็นตัวแทนภาคประชาชนจะสามารถให้การทบทวนพิจารณาโครงการวิจัยได้อย่างครบถ้วนเหมาะสม เพื่อให้อาสาสมัครในโครงการวิจัยมีความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectวิจัยth_TH
dc.subjectResearchth_TH
dc.subjectการแพทย์--วิจัยth_TH
dc.subjectMedicine--Researchth_TH
dc.subjectการวิจัยทางสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการวิจัยด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectจริยธรรม--การวิจัยth_TH
dc.subjectวิจัย--แง่ศีลธรรมจรรยาth_TH
dc.subjectวิจัย--จรรยาบรรณth_TH
dc.subjectการทดลองในมนุษย์th_TH
dc.subjectแพทยศาสตร์--การทดลองth_TH
dc.subjectClinical Trialsth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleกุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Layperson)th_TH
dc.title.alternativeKey Highlights for Laypersonth_TH
dc.typeDocumentth_TH
dc.identifier.callnoW20.55 ว539ก 2566
dc.identifier.contactno66-057
dc.subject.keywordการวิจัยในมนุษย์th_TH
.custom.citationวิชัย โชควิวัฒน, Vichai Chokevivat, จันทรา เหล่าถาวร, Jantra Laothavorn, ขวัญชนก ยิ้มแต้, Kwanchanok Yimtae, พรรณทิพา ว่องไว, Phanthipha Wongwai, สุพัตรา ปรศุพัฒนา, Supatra Porasuphatana, ประทุม สร้อยวงค์ and Pratum Soivong. "กุญแจสำเร็จสู่การเป็นกรรมการที่เป็นผู้แทนประชาชน (Key Highlights for Layperson)." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5834">http://hdl.handle.net/11228/5834</a>.
.custom.total_download85
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month2
.custom.downloaded_this_year7
.custom.downloaded_fiscal_year14

Fulltext
Icon
Name: hs2956.pdf
Size: 27.86Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record