dc.contributor.author | วิชัย โชควิวัฒน | th_TH |
dc.contributor.author | Vichai Chokevivat | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-06-08T06:52:54Z | |
dc.date.available | 2023-06-08T06:52:54Z | |
dc.date.issued | 2566-05 | |
dc.identifier.isbn | 9789742992750 | |
dc.identifier.other | hs2985 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5882 | |
dc.description.abstract | เป้าหมายของการวิจัย คือ การสร้างความรู้ใหม่ หลักการของการวิจัย คือ จะต้องดำเนินการตามกฎเกณฑ์และวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการทุกขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ ผลผลิตที่สำคัญของการวิจัย คือ ข้อมูล (Data) ที่เชื่อถือได้ คำว่า "เชื่อถือได้" นี้ ภาษาอังกฤษใช้คำว่า “Credible” มิใช่ “Reliable” สำหรับการวิจัยในมนุษย์ หรือการวิจัยที่ใช้มนุษย์ เป็น "วัตถุวิจัย" (Subjects) นอกจากต้องทำตามหลักการข้างต้นแล้ว ยังต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัดตาม "หลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์" ด้วย จึงจะเป็นการวิจัยที่ถูกทำนองคลองธรรม เจตนารมณ์หรือความมุ่งมั่นเพื่อจะให้ได้ความรู้ใหม่ที่สามารถนำมาปรับปรุงหรือพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ ทำให้บางครั้งเกิดการปฏิบัติต่อมนุษย์ที่นำมาทดลองอย่างผิดทำนองคลองธรรม จนเกิดเป็นเรื่องเสื่อมเสียและหลายกรณีกลายเป็นเรื่องอื้อฉาว ทำให้มีการกำหนดกฎเกณฑ์และกติกาขึ้นโดยลำดับ จนในที่สุด เมื่อเกิดโรคระบาดใหญ่อย่างโรคโควิด-19 สังคมมนุษย์ก็สามารถวิจัยเครื่องมือ ทั้งวัคซีนและยาขึ้นมาได้อย่างมีประสิทธิผล และความปลอดภัยสูง จนสามารถฝ่าวิกฤตนี้มาได้อย่างน่ายินดี ดีกว่าครั้งเกิดการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่สเปนอย่างชัดเจน ซึ่งหนังสือ “ก่อนจะมาเป็นการวิจัยที่ถูกทำนองคลองธรรม” เล่มนี้ เป็นความพยายามจะอธิบายพัฒนาการของหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์อย่างย่อ โดยพยายามนำเสนอสาระที่สำคัญอย่างรอบด้าน มีตัวอย่างรูปธรรม รวมทั้งแนะนำกฎหมายที่เกี่ยวข้องและแนวทางสากลที่ทั่วโลกยอมรับ หวังว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้องทั้งนักวิจัย ผู้ให้ทุนวิจัย หน่วยงานควบคุมกฎระเบียบ นักศึกษาและประชาชนทั่วไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | วิจัย | th_TH |
dc.subject | Research | th_TH |
dc.subject | การแพทย์--วิจัย | th_TH |
dc.subject | Medicine--Research | th_TH |
dc.subject | การวิจัยทางสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | การวิจัยด้านสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | จริยธรรม--การวิจัย | th_TH |
dc.subject | วิจัย--แง่ศีลธรรมจรรยา | th_TH |
dc.subject | วิจัย--จรรยาบรรณ | th_TH |
dc.subject | การทดลองในมนุษย์ | th_TH |
dc.subject | แพทยศาสตร์--การทดลอง | th_TH |
dc.subject | Clinical Trials | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | ก่อนจะมาเป็นการวิจัยที่ถูกทำนองคลองธรรม | th_TH |
dc.type | Document | th_TH |
dc.identifier.callno | W20.55 ว539ก 2566 | |
dc.subject.keyword | การวิจัยในมนุษย์ | th_TH |
.custom.citation | วิชัย โชควิวัฒน and Vichai Chokevivat. "ก่อนจะมาเป็นการวิจัยที่ถูกทำนองคลองธรรม." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5882">http://hdl.handle.net/11228/5882</a>. | |
.custom.total_download | 228 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 0 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 4 | |