Show simple item record

แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล

dc.contributor.authorเพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์th_TH
dc.contributor.authorPenkarn Kanjanaratth_TH
dc.contributor.authorเพชรลดา บริหารth_TH
dc.contributor.authorPhetlada Borriharnth_TH
dc.contributor.authorนภาภรณ์ ภูริปัญญวานิชth_TH
dc.contributor.authorNaphaphorn Puripunyavanichth_TH
dc.contributor.authorไตรเทพ ฟองทองth_TH
dc.contributor.authorTraithep Fongthongth_TH
dc.contributor.authorกิตติภัค เจ็งฮั้วth_TH
dc.contributor.authorKittipak Jenghuath_TH
dc.contributor.authorบรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุขth_TH
dc.contributor.authorBunnasorn Techajumlernsukth_TH
dc.contributor.authorอิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุขth_TH
dc.contributor.authorIsareethika Jayasvasti Chantarasongsukth_TH
dc.contributor.authorวีรยุทธ์ เลิศนทีth_TH
dc.contributor.authorVerayuth Lertnatteeth_TH
dc.date.accessioned2023-09-20T04:43:52Z
dc.date.available2023-09-20T04:43:52Z
dc.date.issued2566-09
dc.identifier.otherhs2999
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5928
dc.description.abstractแนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล จัดทำขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่องการพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ปี พ.ศ. 2564-2565 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยหาแนวทางการประมวลผลจากข้อมูลในฐานข้อมูลขนาดใหญ่และกำหนดโครงสร้างข้อมูลในการประมวลผลตัวชี้วัดดังกล่าว เพื่อให้หน่วยงานหรือคณะกรรมการที่รับผิดชอบในการติดตามและประเมินผลนโยบายและการดำเนินการพัฒนาสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นแนวทางในการใช้ติดตามและประเมินผลด้วยตัวชี้วัดดังกล่าวต่อไป ตัวชี้วัด RDU Country (RDU Country Indicators, RDUCI) 24 ตัวชี้วัดพัฒนาขึ้นจากหลักการนโยบายการพัฒนาประเทศสู่การใช้ยาอย่างสมเหตุผล ตามประเด็นสำคัญตามยุทธศาสตร์การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล สถานการณ์และทิศทางการใช้ยาอย่างสมเหตุผลของประเทศไทย และกรอบแนวทางการติดตามและประเมินความเข้มแข็งของระบบยา ประกอบด้วย ตัวชี้วัดด้านโครงสร้างระบบยาเพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล สถานพยาบาลมีคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดดำเนินการส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาล มีการจัดการศึกษาต่อเนื่องด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับบุคลากรด้านสุขภาพ การมีจังหวัดผ่านเกณฑ์การพัฒนาสู่จังหวัดใช้ยาอย่างสมเหตุผล ด้านการสั่งยาในสถานพยาบาลประกอบด้วยตัวชี้วัดการสั่งยาในบัญชียาหลัก การสั่งยาด้วยชื่อสามัญทางยา ตัวชี้วัดการสั่งยาปฏิชีวนะเกินความจำเป็นในผู้ป่วยนอก การสั่งยาที่ไม่เหมาะสมในโรคที่พบบ่อยในผู้ป่วยเด็ก การสั่งยาจำเป็นเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนในโรคเรื้อรังที่พบบ่อย คือ โรคเบาหวานชนิดที่ 2 โรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง การสั่งยาเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนโดยไม่จำเป็นในผู้ป่วยความเสี่ยงต่ำ ด้านผลลัพธ์ต่อสุขภาพจากการสั่งยาอย่างสมเหตุผลในโรคเรื้อรังประกอบด้วยการควบคุมภาวะโรค และการเข้าโรงพยาบาลจากเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากยาที่หลีกเลี่ยงได้ ในด้านผลกระทบของการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในผู้ป่วยนอกต่ออัตราการติดเชื้อดื้อยา และผลกระทบด้านความเท่าเทียม ด้านค่าใช้จ่ายด้านยาระหว่างกองทุนประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด RDU Country ชุดนี้มีองค์ประกอบของตัวชี้วัดปัจจุบันของกระทรวงสาธารณสุขและตัวชี้วัดปัจจุบันของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ปี พ.ศ. 2565 และตัวชี้วัดอื่นๆ ที่คัดเลือกจากกระบวนการวิจัยในครั้งนี้ อย่างไรก็ตามตัวชี้วัดที่คัดเลือกเบื้องต้นจากงานวิจัยนี้ จำเป็นต้องได้รับการอภิปรายและพิจารณาถึงข้อดีข้อด้อย เพื่อปรับความเห็นของผู้เชี่ยวชาญให้ตรงกันเป็นฉันทมติ สำหรับตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับการรักษาโรคจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ ที่เป็นปัจจุบันต่อไป นอกจากนั้นตัวชี้วัดชุดนี้ภาพรวมเน้นไปที่การใช้ยาในมนุษย์ การสั่งยาโดยแพทย์ในโรงพยาบาล ยังมีข้อจำกัดด้านการใช้ยาในปศุสัตว์และเกษตรกรรม มิติการควบคุมการกระจายยาและใช้ยาในชุมชนที่เกี่ยวข้องกับหลายภาคส่วน จำเป็นต้องมีการพัฒนาให้สมบูรณ์ในระยะต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectยาth_TH
dc.subjectDrugsth_TH
dc.subjectการใช้ยาth_TH
dc.subjectDrug Utilizationth_TH
dc.subjectการใช้ยาอย่างสมเหตุผลth_TH
dc.subjectการใช้ยาของโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectRational Drug Useth_TH
dc.subjectตัวชี้วัดth_TH
dc.subjectIndicatorsth_TH
dc.subjectการประเมินผลth_TH
dc.subjectEvaluationth_TH
dc.subjectMeasurementth_TH
dc.subjectHealth Policyth_TH
dc.subjectนโยบายสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Administrationth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleแนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผลth_TH
dc.title.alternativeRational Drug Use Country Indicators Templatesth_TH
dc.title.alternativeคู่มือแนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดและข้อเสนอแนะการนำตัวชี้วัดไปใช้ในระบบติดตามประเมินผล RDU Countryth_TH
dc.typeDocumentth_TH
dc.identifier.callnoQV55 พ883น 2566
dc.identifier.contactno64-101
dc.subject.keywordRational Drug Use Country Indicatorsth_TH
dc.subject.keywordRDUCIth_TH
dc.subject.keywordRDU Countryth_TH
.custom.citationเพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์, Penkarn Kanjanarat, เพชรลดา บริหาร, Phetlada Borriharn, นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช, Naphaphorn Puripunyavanich, ไตรเทพ ฟองทอง, Traithep Fongthong, กิตติภัค เจ็งฮั้ว, Kittipak Jenghua, บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข, Bunnasorn Techajumlernsuk, อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข, Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk, วีรยุทธ์ เลิศนที and Verayuth Lertnattee. "แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล." 2566. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5928">http://hdl.handle.net/11228/5928</a>.
.custom.total_download24
.custom.downloaded_today1
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year10
.custom.downloaded_fiscal_year20

Fulltext
Icon
Name: hs2999.pdf
Size: 1.735Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record