Now showing items 3781-3800 of 5785

    • กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ 

      ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การศึกษาเรื่อง “กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไก กระบวนการร้องเรียน การช่วยเหลือเบื้องต้นประสิทธิภาพ ...
    • การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพที่เหมาะสม 

      ยุพา วงศ์ไชย; สุพร กระจ่างพืช; ศศิชา ว.บาลิการ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพเป็นมาตรการหนึ่งในการสร้างความมั่นคงทางสังคมหลักใหญ่เป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคฯ ประเทศไทยมีกฎหมายกําหนดสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพหลายฉบับ รวมทั้งกําหนดกลไกให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ...
    • การศึกษาและจัดทำข้อเสนอเพื่อพัฒนาระบบการซื้อบริการสุขภาพแนวดิ่ง ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์; อรอุมา ช่วยเรือง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-05)
      ที่ผ่านมา สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) มีระบบและกลไกของการซื้อบริการดูแลสุขภาพที่มีพัฒนาการไปอย่างต่อเนื่อง โดยมีการดำเนินการแยกตามประเภทของบริการไปซึ่งดำเนินการไม่เหมือนกัน วิธีการซื้อบริการแต่ละแบบที่สปสช. ...
    • หลักสูตรการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีเมืองและการขนส่ง 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ปัญหาเรื่องเมืองและการขนส่ง ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับประชาชนจำนวนมาก ทั้งในเรื่องที่เกี่ยวกับไม่มีนโยบายการควบคุมรถยนต์ ไม่มีการวางผังเมือง สร้างก่อนแล้วจึงมาวางผังเมือง และถนน ส่งผลกระทบต่อการจราจร ความหนาแน่นและ ...
    • การมีส่วนร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ ประสบการณ์จาก 10 ประเทศ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ค่าใช้จ่ายสุขภาพของประเทศที่เพิ่มขึ้น เกินกว่าอัตราที่งบประมาณที่มีอยู่จะเพียงพอให้การสนับสนุน ทำให้เริ่มเกิดคำถามเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ รายงานนี้เป็นการนำเสนอผลการสังเคราะห์ประสบการณ์ต่างประเทศ ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัย ด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคใต้ 

      รวมพร คงกำเนิด; Roumporn Konggumnerd (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวกับการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในภาคใต้ของประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 400 เรื่อง โดยจากการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล Thai list ...
    • การศึกษาระบบ-ระเบียบการจัดซื้อยาของโรงพยาบาลรัฐบาล ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549-สิงหาคม 2550 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ศนิตา หิรัญรัศมี; จิราภรณ์ อุษณกรกุล; ภูรี อนันตโชติ; ชมภูนุช สุคนธวารี; สุธีรา เตชคุณวุฒิ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การจัดซื้อยาเป็นไปตามระเบียบจัดซื้อพัสดุซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นแนวทางสำหรับให้การจัดซื้อจัดหายาของโรงพยาบาลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ได้ยาที่มีคุณภาพดี ราคาเหมาะสม ทันเวลา และโปร่งใส ตรวจสอบได้ ...
    • การป้องกันและลดการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุจราจร : ประเด็นที่ปฏิบัติอย่างกว้างขวางในต่างประเทศแต่ยังไม่ได้ปฏิบัติในประเทศไทย 

      อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      สถานการณ์ประเทศที่กำลังพัฒนามีการเปลี่ยนแปลงในทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีในทางที่ดีขึ้น สำหรับปัญหาสาธารณสุขในเรื่องการติดเชื้อและโรคระบาดลดลง แต่ปัญหาเรื่องอุบัติเหตุและการบาดเจ็บเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุบัติเหตุจราจร ...
    • การประเมินผลองค์กรสำหรับสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      มูลนิธิเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างประเทศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547-11)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ดำเนินงานมาจนครบ 3 ปี ของยุทธศาสตร์การดำเนินงานที่วางไว้แล้ว ท่านผู้อำนวยการฯ ตระหนักถึงการพัฒนาอย่างต่อเนื่องของระบบสุขภาพในประเทศ ดังนั้นจึงมองว่านี่เป็นเวลาที่เหมาะสมในการให้ที่ปรึกษาอิสระทำกา ...
    • การวิจัยและพัฒนาสารสนเทศระบบยาเรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ยา ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549-สิงหาคม 2550 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ภูรี อนันตโชติ; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; จิราภรณ์ อุษณกรกุล; ศนิตา หิรัญรัศมี; ทวีพงษ์ อารียโสภณ; สุธีรา เตชคุณวุฒิ; ชุมพูนุช สุคนธวารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การใช้ยาอย่างเหมาะสมมีความสำคัญต่อผลลัพธ์ของการบริบาลผู้ป่วย และของการดำเนินงานระบบสุขภาพ การใช้ยาเกินจำเป็นและใช้ต่ำกว่าที่จำเป็น มีผลต่อคุณภาพการรักษา ในขณะเดียวกัน การใช้ยาที่ไม่เหมาะสม ย่อมมีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายสุขภาพด้วย ...
    • การบริบาลเภสัชกรรมและการจ่ายยาต่อเนื่องสำหรับผู้ป่วยเบาหวานประเภทที่ 2 ในร้านยามหาวิทยาลัย 

      วิลาวัณย์ ทุนดี; ปวิตรา พูลบุตร; รจเรศ หาญรินทร์; Wilawan Toondee; Pawitra Pulbutr; Roadjares Hanrin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      งานวิจัยฉบับนี้ เป็นการศึกษาแบบ Quasi Experimental กลุ่มควบคุมและทดลอง มีจำนวนกลุ่มละ 59 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมและรับยาต่อเนื่องที่ร้านยาเป็นเวลา 1 ปี กลุ่มควบคุมได้รับบริการตามปกติที่คลินิกพิเศษในโรงพยาบาล ...
    • การพัฒนาระบบฐานข้อมูลบุคลากรสาธารณสุขในประเทศไทย 

      เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ; พินทุสร เหมพิสุทธิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ระบบข้อมูลบุคลากรสาธารณสุข (Human Resources in Health Information System) มีความจำเป็นสำหรับนักวางแผนในการกำหนดปริมาณและความต้องการกำลังคนในอนาคต รวมทั้งจำเป็นสำหรับผู้สอนที่จำเป็นต้องมีข้อมูลความต้องการในการฝึกอบรมและพั ...
    • การศึกษาทบทวนสถานการณ์ธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ 

      มานวิภา อินทรทัต; อาจยุทธ เนติธนากูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมภิบาลในการจัดระบบสุขภาพให้สมดุลและยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี ดังนั้นจึงต้องทราบถึงสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมภิบาลระบบสุขภาพ จุดประสงค์ของงา ...
    • ความต้องการสารสนเทศอุตสาหกรรมยาในประเทศไทย ระยะเวลา : กรกฎาคม 2549 - สิงหาคม 2549 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; ศนิตา หิรัญรัศมี; ภูรี อนันตโชติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ด้วยนโยบายแห่งชาติด้านยาของทั้ง 2 ฉบับ คือ ฉบับปี พ.ศ. 2525 และฉบับปรับปรุง ปี พ.ศ. 2536 ได้กำหนดให้มีการการพัฒนาอุตสาหกรรมยาในประเทศไทย จากการศึกษาและทบทวนวรรณกรรมหลายชิ้นที่เกี่ยวข้องกับอุุตสาหกรรมยาในประเทศไทย ...
    • พัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 ปีที่ 3 

      ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; ราม รังสินธุ์; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล; อรุณ จิรวัฒน์กุล; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; วสี ดุลวรรธนะ; ภาสกร ศรีทิพย์สุโข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-10)
      การดําเนินงานของเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบันในปี 2551 ที่ผ่านมา ได้รับงบประมาณสนับสนุนหลักทั้งจาก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ภายใต้โครงการ "พัฒนาระบบการจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3” และจากกลุ่มสถาบันแพทยศาส ...
    • หลักสูตรนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในระดับประเทศ 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ; แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง แนวทางการพัฒนาหลักสูตรนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพเพื่อสุขภาพระดับประเทศ โดยจัดขึ้น 5 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมจาก 3 ภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ...
    • การจัดการระบบวิจัยคลินิกแบบสหสถาบัน 

      สุธี รัตนะมงคลกุล; ปิยทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; ราม รังสินธุ์; สิริมา มงคลสัมฤทธิ์; อรุณ จิรวัฒน์กุล; บัณฑิต ถิ่นคำรพ; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; สมรัตน์ จารุลักษณานันท์; วิไล คุปต์นิรัติศัยกุล; สายบัว ชี้เจริญ; สุรพล เวียงนนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-12)
      การถอดบทเรียนครั้งนี้เป็นการทบทวนการศึกษาการทำงานภายใต้โครงการ พัฒนาระบบบริหารจัดการเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน ระยะที่ 3 (Development of Network Management Systems in Multicenter Clinical Study : Phase III) ในปี พ.ศ. ...
    • หลักสูตรนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพในระดับท้องถิ่น 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ; แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      องคก์การบริหารส่วนท้องถิ่น เช่น องค์กรบริหารส่วนตำบล (อบต.) เป็นราชการส่วนท้องถิ่นมีบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาท้องถิ่นที่สำคัญลำดับแรก ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการจัดบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตนเอง ...
    • ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมด้านวัคซีนไข้หวัดใหญ่ กรณีเกิดการระบาดใหญ่ของประเทศไทย 

      จงกล เลิศเธียรดำรง; ทิพยวรรณ ธนไพศาล; กนกวรรณ พุ่มพุทรา; สมชาย เชื้อวัชรินทร์; ประพนธ์ อางตระกูล; ประภัสสร เสวตรนิสากร; อนันต์ ทองทา; พรพิศ ศิลขวุธท์; ศุภรินทร์ จิรสุขประเสริฐ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      เอกสารข้อเสนอเชิงนโยบาย เรื่อง ยุทธศาสตร์การเตรียมความพร้อมด้านวัคซีนไข้หวัดใหญ่กรณีเกิดการระบาดใหญ่ของประเทศไทย นี้ เป็นกิจกรรมหนึ่งของงานการจัดการความรู้ โปรแกรมโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ...
    • ผู้พิการจากมุมมองทางปรัชญา 

      ปกรณ์ สิงห์สุริยา; วิภาดา อังสุมาลิน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-07)
      รายงานการศึกษาเรื่อง ผู้พิการจากมุมมองทางปรัชญา ภาคใต้โครงการ ศาสนากับคนพิการในประเทศไทย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษามโนทัศน์และทฤษฎีต่างๆ ทางปรัชญาที่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกับเรื่องผู้พิการ รวมถึงศึกษากรอบแนวคิดในการเสริมคุณค่ ...