DSpace at Health Systems Research Institute (HSRI): Recent submissions
Now showing items 5461-5480 of 5802
-
การคลังสุขภาพ : การปฏิรูปด้านยาสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547) -
การจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพ : ยุทธวิธีในการปฏิรูประบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547-10) -
ยุทธศาสตร์การวิจัยสุขภาพ และกระบวนการในการจัดทำนโยบายการวิจัยสุขภาพ(Policy process)ของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547) -
รูปแบบและกลไกการจัดการของระบบวิจัยสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547-08-31) -
ระบบวิจัยสุขภาพ : สมองของระบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547-10)เป็นเอกสารวิชาการประกอบหัวข้อระบบวิจัยสุขภาพ : สมองของระบบสุขภาพ ซึ่งจะทำหน้าที่แสดงตุ๊กตาทางความคิด ถึงระบบวิจัยสุขภาพที่พึงประสงค์ โดยนำเสนอผ่านหัวข้อ รูปแบบและกลไกการจัดการของระบบวิจัยสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทย ... -
บทคัดย่อผลงาน R2R ในการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research) R2R : เสริมพลัง สร้างสรรค์ และพัฒนา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-07)รวมบทคัดย่องานวิจัยที่ส่งเข้าประกวดในการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research) R2R : เสริมพลัง สร้างสรรค์ และพัฒนา แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ การบริการระดับปฐมภูมิ การบริการระดับทุติยภูมิ ... -
วิจัยเชิงคุณภาพ : การเรียนรู้จากงานประจำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-07)แนวคิดและบทเรียนที่รายงานอยู่ในเอกสารนี้เป็นผลลัพธ์และสิ่งที่เรียนรู้จากหลักสูตรการอบรมการวิจัยเชิงคุณภาพต่อเนื่อง (On the Job Training) ในงานสุขภาพปฐมภูมิ บริการปฐมภูมิ ที่สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.) ดำเนินการโดยกา ... -
สยบงานจำเจ ด้วยการวิจัยสู่โลกใหม่ของงานประจำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), 2551-07)ผมเคยทำงานอยู่โรงพยาบาลชุมชนเมื่อสิบกว่าปีที่ผ่านมา ช่วงนั้นมีพี่บางคนบอกว่าผมนั่งทับทรัพย์สมบัติที่มีค่ามหาศาล หากรู้จักใช้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้คนอย่างมาก ด้วยความที่ไม่มีทั้งความฉลาดและความเฉลียวมากพอ ผมจึงต้องถามกลับไปด้วยคำถาม ... -
การตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนโดยระบบสุขภาพไทย : ความคิดเห็นของบุคลากรสุขภาพ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)องค์กรอนามัยโลกระบุว่าระบบสุขภาพที่ดีควรมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาระดับและความเสมอภาคของสถานะสุขภาพรวมทั้งการตอบสนองต่อความคาดหวังของประชาชนกลุ่มต่างๆตลอดจนสร้างความเสมอภาคในระบบการคลังด้านสุขภาพ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประส ... -
ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย - คำถามวิจัยที่สำคัญ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าดำเนินการเต็มพื้นที่ในปีงบประมาณ ๒๕๔๕ เนื่องจากเป็นโครงการระดับชาติ การกำหนดและปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อให้โครงการฯบรรลุวัตถุประสงค์มีความจำเป็นจะต้องอาศัยข้อมูลทางวิชาการและงานวิจัยที่สำคัญ ๖ ด้าน ... -
วิธีวัดคุณภาพชีวิต สำหรับผู้ป่วยต้อกระจกในภูมิภาค
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (stakeholder analysis) เป็นเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาวิจัยที่มุ่งเน้นไปถึงการศึกษาถึงลักษณะของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย ไม่ว่าจะเป็นจุดมุ่งหมาย จุดยืน ความต้องการ ความสนใจ องค์ประกอบกลุ่ม ... -
แบบแผนการคลอดบุตรของหญิงไทยในรอบ 12 ปี (พ.ศ. 2533–2544)
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจแบบแผนการคลอดบุตรของหญิงไทยในช่วง 12 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2533-2544 โดยส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังโรงพยาบาลรัฐและเอกชนทั่วประเทศจำนวนสองครั้งในปี พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2545 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบ ... -
ผลดี ผลเสีย การฝากครรภ์พิเศษในโรงพยาบาลรัฐ
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นจากการทำเวชปฏิบัติของสูติแพทย์ฝากครรภ์พิเศษทั้งในมุมมองของผู้ใช้และแพทย์ผู้ให้บริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณภาพและความเชื่อมั่นต่อบริการของหญิงที่ไม่ฝากครรภ์พิเศษ ... -
การป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก: บทเรียนจากพื้นที่เพื่อการปรับนโยบาย
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การดำเนินงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูกในประเทศไทยซึ่งขยายการดำเนินงานครอบคลุมทั้งประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๓ มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก มีการผสมผสานการดำเนินงานเข้าสู่ในระบบการให้บริการการดูแลฝากครรภ์และคลอ ... -
การประเมินผลการดำเนินงานในศูนย์สุขภาพชุมชนของจังหวัดสระบุรี
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)จากการตั้งรัฐบาลชุดใหม่ ประเทศไทยได้มีนโยบายการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและกำหนดให้สถานพยาบาลปฐมภูมิเป็นบริการด่านแรก และเรียกสถานบริการนี้ว่า ศูนย์สุขภาพชุมชน เนื่องจากเป็นนโยบายใหม่ระดับชาติ การศึกษาครั้งนี้จึงมีวั ... -
ข้อพิจารณาด้านจริยธรรมในการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนประเด็นเรื่องการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ ว่าจะต้องดำเนินการอย่างไรจึงจะถูกต้องตามหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ โดยมีคำถามสำคัญคือ โครงการเหล่านี้จะต้องเสนอให้คณะกรรมการจริยธรรมการวิจ ... -
การทบทวนสถานการณ์ปัจจุบันของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ : การศึกษากลไกการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ในกระทรวงสาธารณสุข (ส่วนกลาง)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์คือ คณะกรรมการการศึกษาวิจัยในคนในหน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงสาธารณสุข โดยการทบทวนเอกสาร ใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เจาะลึก ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันส่วนราชการต่างๆ ... -
สถานการณ์และประเด็นสุขภาพแรงงานอีสาน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภูมิภาคที่มีการย้ายถิ่นแรงงานมาก จึงก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านกายภาพ สังคม ตลอดจนมีผลกระทบต่อสุขภาวะทั้งปัจเจกบุคคล ครัวเรือน และชุมชน บทความนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอสถานการณ์ ... -
ก้าวย่างที่ท้าทายในการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพระดับพื้นที่ : บททบทวนการจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพของภาคเหนือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)