Now showing items 741-760 of 5776

    • รายงานประจำปี 2563 สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข : สร้างองค์ความรู้ สู่การพัฒนาระบบสุขภาพไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ในปี 2563 ภารกิจของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มีหน้าที่สำคัญในการบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบสาธารณสุข รวมทั้งเป็นหน่วยงานบริหารและจัดการทุนวิจัยด้านสุขภาพของประเทศ (Program Management Unit : PMU) ...
    • วิจัยระบบสุขภาพ 2563 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-08)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) เป็นองค์กรบริหารจัดการความรู้เพื่อให้เกิดงานวิจัยที่นำไปสู่การใช้ประโยชน์และการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศในมิติต่างๆ โดยในแต่ละปี สวรส. มีงานวิจัยที่แล้วเสร็จ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการนำไปแก้ป ...
    • มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ปรากฏการณ์ที่โรคโควิด 19 สามารถเป็นได้กันทุกคนทั่วโลกเพราะไม่มีใครมีภูมิคุ้มกันมาก่อน ใครสัมผัสก่อน คนนั้นเป็นก่อน จนกระทั่งเป็นกันเกือบทุกคน โรคจึงสงบได้ มิติทางเวลา เช่น ใครติดโรคก่อนหรือเป็นทีหลัง ก็อาจทำให้ผลลัพธ์การ ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2564 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2564 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการเรื่อง มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 8 บทความ ได้แก่ 1) เศรษฐศาสตร์ก ...
    • ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระยะเวลาที่ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉินนานมากกว่า 6 ชั่วโมง 

      กรกต ปล้องทอง; Korakot Plongthong; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; Boriboon Chenthanakij; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; ปริญญา เทียนวิบูลย์; Parinya Tianwibool; พิชญุตม์ ภิญโญ; Phichayut Phinyo; ธีรพล ตั้งสุวรรณรักษ์; Theerapon Tangsuwanaruk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล การใช้เวลาในแผนกฉุกเฉินนานส่งผลต่อระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลที่ยาวนานขึ้น การเสียชีวิตที่เพิ่มขึ้นของผู้ป่วย ตลอดจนเพิ่มการใช้ทรัพยากรและงบประมาณ การทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อระยะเวลาที่ผู้ป่วยอยู่ในแผนกฉุกเฉิน ...
    • ต้นทุนบริการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตของโรงพยาบาลภายใต้โครงการพัฒนาข้อเสนอ UCEP ด้านการเงินการคลัง 

      อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Utoomporn Wongsin; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; พัชนี ธรรมวันนา; Patchanee Thumvanna; ถาวร สกุลพาณิชย์; Thaworn Sakunphanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนบริการผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตของโรงพยาบาล ภายใต้โครงการพัฒนาข้อเสนอ Universal Coverage for Emergency Patients (UCEP) ด้านการเงินการคลัง โดยการศึกษาต้นทุนครั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลค่าใช้ ...
    • ต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยโรคที่พบมาก 5 อันดับแรก หอผู้ป่วยพิเศษศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ปีงบประมาณ 2559 

      จีรนันท์ แสงฤทธิ์; Jeeranunt Sangrit; สุคนธา คงศีล; Sukhontha Kongsin; สุขุม เจียมตน; Sukhum Jiamton; สหภูมิ ศรีสุมะ; Sahaphume Srisuma; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ต้นทุนบริการสุขภาพเป็นตัวชี้วัดที่ผู้บริหารโรงพยาบาลให้ความสำคัญในการใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจจัดบริการที่มีประสิทธิภาพ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุนและต้นทุนต่อหน่วยจำแนกตามโรคที่พบมาก 5 ลำดับแรก ...
    • รูปแบบการรักษาและประสิทธิผลของการใช้ยาทราสทูซูแมบในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะเริ่มต้น: การวิเคราะห์ข้อมูลจากสถานการณ์จริง 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การศึกษานี้เป็นการศึกษาย้อนหลัง (retrospective study) โดยใช้ข้อมูลจากสถานการณ์จริงเพื่อวิเคราะห์รูปแบบการรักษาเปรียบเทียบกับแนวทางกำกับการใช้ยาบัญชี จ(2) ตลอดจนประสิทธิผลของการรักษาผู้ป่วยเปรียบเทียบกับประสิทธิศักย์ที่ได ...
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของโครงการรู้ทัน..กันหักซ้ำ ในผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก โรงพยาบาลเลิดสิน 

      จุฑาทิพ อาธีรพรรณ; Jutatip Artheeraphan; อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ; Attasit Srisubat; ชิตวีร์ เจียมตน; Chitawee Jiamton; ฉัตรระวี จินดาพล; Chatravee Jindapol; รมนปวีร์ บุญใหญ่; Ramonpawee Boonyai; วรัญญา ทาสมบูรณ์; Waranya Tasomboon; สุวิภา อุดมพร; Suwipa Udomporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล: กระดูกข้อสะโพกหักในผู้สูงอายุเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในทุกประเทศทั่วโลกและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีตามจำนวนผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น การรักษาและฟื้นฟูผู้ป่วยใช้เวลานาน ส่งผลให้แต่ละประเทศต้องรับภาระทางการเงิน ...
    • ต้นทุนการดูแลผู้ป่วยมะเร็งแบบประคับประคองของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดขอนแก่น 

      พิมประภา แวนคุณ; Pimprapa Vankun; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การดูแลแบบประคับประคองเป็นขั้นตอนสำคัญของการดูแลผู้ป่วยมะเร็งโดยเฉพาะเมื่อเข้าสู่ระยะท้าย องค์การอนามัยโลกได้กล่าวไว้ว่าการดูแลแบบประคับประคองนั้นมีต้นทุนต่ำ แต่การศึกษาต้นทุนของบริการประเภทนี้ในประเทศไทยยังมีจำกัด ...
    • การส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน: กรณีศึกษา 4 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมการเดิน ...
    • เศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศกับนโยบายการควบคุมยาสูบ: กรณีศึกษาสหภาพยุโรป ฝรั่งเศสและเยอรมนี 

      ภาคภูมิ แสงกนกกุล; Pakpoom Saengkanokkul; วรรณภา ลีระศิริ; Wannapa Leerasiri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การควบคุมยาสูบเป็นประเด็นหนึ่งในด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองระหว่างประเทศ แม้ว่าปัจจุบันจะมีกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบ พ.ศ. 2546 เป็นกลไกในระดับโลกเพื่อควบคุมการระบาดยาสูบ แต่ระดับการควบคุมยาสูบของประเทศยังคงมีความแตกต ...
    • การวิจัยเพื่อพัฒนาการนำเกณฑ์จริยธรรมว่าด้วยการส่งเสริมการขายยาไปสู่การปฏิบัติในโรงพยาบาลของรัฐ 

      สุนทรี ท. ชัยสัมฤทธิ์โชค; Suntharee T. Chaisumritchoke; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chantapasa; ศิราณี ยงประเดิม; Siranee Yongpraderm; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ในปัจจุบัน เป็นที่ยอมรับกันอย่างชัดเจนทั่วโลกแล้วว่าการส่งเสริมการขายยามีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดการสั่งจ่ายยาที่ไม่สมเหตุผล ส่งผลทำให้เกิดปัญหาการบริโภคยาเกินจำเป็น บริโภคยาราคาแพงเกินควรทั้งในประเทศกำลังพัฒนาและประเทศที่พัฒนาแล้ว ...
    • การพัฒนาการตรวจวิเคราะห์ระดับโมเลกุลเพื่อบ่งชี้การตอบสนองต่อการรักษาแบบจำเพาะบุคคลในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชาวไทย (ปีที่ 3) 

      นรวรรธน์ พวงวรินทร์; Naravat Poungvarin; วิเชียร ศรีมุนินทร์นิมิต; Vichien Srimuninnimit; รุจิรา เรืองจิระอุไร; Ruchira Ruangchira-urai; วิโรจน์ ศรีอุฬารพงศ์; Virote Sriuranpong; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ธัญนันท์ เรืองเวทย์วัฒนา; Thanyanan Reungwetwattana; พิมพิณ อินเจริญ; Pimpin Incharoen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-07)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญของประชากรไทย การรักษาโรคมะเร็งแบบจำเพาะต่อบุคคล (personalized cancer medicine) ด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้า (targeted therapy) เป็นแนวทางการรักษาแนวใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงในการทำลายเซลล์มะเร็ง ...
    • แผนยุทธศาสตร์สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) พ.ศ. 2565-2569 (ฉบับสมบูรณ์) 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-08)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ สวรส. พ.ศ. 2535 มีบทบาทในการพัฒนาระบบสาธารณสุข สนับสนุนส่งเสริมการวิจัยร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ เพื่อสร้างและจัดการความรู้สู่การพัฒนานโยบายที่นำไปสู่การดำเนินงานกา ...
    • การศึกษาเภสัชจลนศาสตร์ และเภสัชพลศาสตร์ของยาไอเวอร์เมคตินในผู้ป่วยเด็กติดเชื้อไวรัสเด็งกี่ 

      ปนิษฎี อวิรุทธ์นันท์; Panisadee Avirutnan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-08)
      โรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของโลก เนื่องจากมีผู้ติดเชื้อไวรัสเด็งกี่ซึ่งมีอาการทางคลินิกมากถึง 390 ล้านคนต่อปี โดยทั่วไปคนที่ติดเชื้อไวรัสเด็งกี่จะไม่แสดงอาการ (asymptomatic) แต่มีผู้ติดเชื้อจำนวนหนึ่งที ...
    • แผนยุทธศาสตร์สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) พ.ศ. 2565-2569 (ฉบับย่อ) 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-08)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ สวรส. พ.ศ. 2535 มีบทบาทในการพัฒนาระบบสาธารณสุข สนับสนุนส่งเสริมการวิจัยร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ เพื่อสร้างและจัดการความรู้สู่การพัฒนานโยบายที่นำไปสู่การดำเนินงานกา ...
    • การพัฒนาการตรวจตามแนววิเคราะห์สารพันธุกรรมตลอดส่วนการแสดงออกทารกชาวไทยที่มีภาวะดีซ่านแบบน้ำดีคัดคั่ง 

      สุรศักดิ์ สังขทัต ณ อยุธยา; Surasak Sangkhathat; อมรรัตน์ พงศ์ดารา; Amornrat Phongdara; ปิยวรรณ เชียงไกรเวช; Piyawan Chiengkriwate; ศุภิกา กฤษณีไพบูลย์; Supika Kritsaneepaiboon; คณิตา กายะสุต; Kanita Kayasut; คมวิทย์ สุรชาติ; Komwit Surachat; วิศลย์ เหล่าเจริญสุข; Wison Laochareonsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการนำเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับสารพันธุกรรมใหม่ (Next Generation Sequencing) มาใช้ในกระบวนการวินิจฉัยทางคลินิกสำหรับผู้ป่วยซึ่งมีภาวะดีซ่านชนิดน้ำดีคัดคั่งในวัยทารก เน้นศึกษากลุ่มผู้ป่ว ...
    • การสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงยากลุ่มโอปิออยด์ สำหรับการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ในประเทศไทย 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12-18)
      ปัจจุบันในประเทศไทยมีผู้ป่วยระยะท้ายที่ต้องการการดูแลแบบประคับประคองเพิ่มมากขึ้น ยาแก้ปวดกลุ่มโอปิออยด์จัดเป็นยาที่จำเป็นในการบรรเทาอาการปวดชนิดรุนแรง ซึ่งช่วยลดความทรมานและทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน ...
    • กลไกการทำงานของโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับ signal transduction และพยาธิสภาพของการติดเชื้อไวรัสเดงกี่ 

      กอบพร บุญนาค; Kobporn Boonnak; สง่า พัฒนากิจสกุล; Sa-nga Pattanakitsakul; อรภัค เรี่ยมทอง; Onrapak Reamtong; อรุณรุ่ง สุทธิเทพธำรง; Aroonroong Suttitheptumrong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      Antibody-dependent enhancement (ADE) เป็นปรากฏการณ์หนึ่งที่สำคัญในการเกิดโรคไข้เลือดออก ที่มีการติดเชื้อไวรัสซ้ำครั้งที่ 2 เซลล์โมโนไซต์เป็นเป้าหมายของการติดเชื้อไวรัสในขบวนการ ADE การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาโปรตี ...