แสดงรายการ 1861-1880 จาก 5778

    • การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมเพื่อลดพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 

      กานต์นะรัตน์ จรามร; Karnnarut Jaramorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-01)
      การวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมเพื่อลดพฤติกรรม การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบและศึกษาผลการใช้รูปแบบการดำเนินงานโดยชุมชนมีส่วนร่วมเพื่อลดพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื ...
    • การทบทวนสถานการณ์และกลไกการจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ 

      ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อรจิรา วงษ์ดนตรี; มณฑิชา เจนพานิชทรัพย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      “Health Literacy” หมายถึง ความสามารถในการค้นหาเข้าถึง ทำความเข้าใจ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านสุขภาพ ในอดีตจนถึงปัจจุบัน นักวิชาการในประเทศไทยมีการแปลคำนี้ไว้แตกต่างกันไป อาทิเช่น “ความแตกฉานด้านสุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าท ...
    • การปรับปรุงอัตราเบิกจ่ายค่าบริการวิสัญญีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการสำหรับสถานพยาบาลภาครัฐ 

      ภาสกร สวนเรือง; Passakorn Suanrueang; ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; พัชนี ธรรมวันนา; Patchanee Thamwanna (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      อัตราค่าบริการสาธารณสุขเพื่อใช้สำหรับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ ใช้เป็นอัตราที่สถานพยาบาลเรียกเก็บจากกรมบัญชีกลาง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน และยังไม่มีการปรับปรุงให้สอดคล้องกับต้นท ...
    • ซีโรทัยป์และการดื้อยาของเชื้อซัลโมเนลล่าที่แยกได้จากอุจจาระและเลือดของผู้ป่วยจังหวัดตรัง พัทลุง และสงขลา 

      สุภาภรณ์ นิยมแก้ว; Supaporn Niyomkaew; พรเพ็ญ สังยวน; Pornpen Sangyuan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      ซีโรทัยป์ (Serotype) ของเชื้อซัลโมเนลล่า (Salmonella spp.) ที่แยกได้จากอุจจาระและเลือดของผู้ป่วยในโรงพยาบาลภายในจังหวัดตรัง พัทลุงและสงขลาจำนวน ๕๑๗ ตัวอย่าง เป็นเพศหญิง : เพศชาย เท่ากับ ๑ : ๐.๙๘ อายุตั้งแต่แรกเกิดถึง ๘๘ ...
    • การติดตามผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 5 ที่เลือกรับการรักษาแบบไม่ฟอกไต 

      อำนวยพร แดงสีบัว; Amnuayporn Daengsibua; อัจฉราวรรณ โตภาคงาม; Acharawan Topark-ngarm; สัจจะ ตติยานุพันธ์วงศ์; Sajja Tatiyanupanwong; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      การรักษาแบบฟอกไตเป็นทางเลือกหลักของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยส่วนหนึ่งปฏิเสธการฟอกไตและเลือกการรักษาแบบไม่ฟอกไต ในปัจจุบัน ประเทศไทยยังขาดข้อมูลผลลัพธ์ทางคลินิกของการรักษาในผู้ป่วยกลุ่มนี้ ...
    • การประเมินความชุกของความผิดปกติในฟิล์มเอกซเรย์ปอดในโปรแกรมตรวจคัดกรองสุขภาพ 

      อัญชลี วงค์ใน; Anchalee Wongnai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      เอกซเรย์ปอดเป็นการตรวจที่ถูกกำหนดไว้ในรายการตรวจสุขภาพประจำปีของคนไทย นอกจากการตรวจสุขภาพประจำปีแล้ว ยังมีการตรวจเอกซเรย์ปอดเพื่อเข้าศึกษาต่อ การตรวจเอกซเรย์ปอดก่อนเข้าทำงาน จากรายงานของต่างประเทศพบว่าการทำเอกซเรย์ปอดในก ...
    • การประเมินผลการพัฒนาคุณภาพบริการทันตกรรม 

      อัจฉรา ชัยสันติตระกูล; Achara Chaisuntitrakoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      ทันตแพทยสภาได้จัดทำแนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางทันตกรรม ในปี พ.ศ. 2553 ให้สมาชิกได้ศึกษาและนำไปปฏิบัติโดยประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริการในบริบทของตน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสูงสุดกับทั้งผู้รับและผู้ให้บริการ ...
    • การอุดหนุนข้ามระหว่างกองทุนสุขภาพในระดับโรงพยาบาล: กรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย 

      บวรศม ลีระพันธ์; Borwornsom Leerapan; ภัททา เกิดเรือง; Phatta Kirdruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      วัตถุประสงค์: เพื่อค้นหาหลักฐานเชิงประจักษ์ในการตอบสนองของผู้บริหารโรงพยาบาลรัฐของประเทศไทยต่อความแตกต่างของนโยบายการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลของแต่ละกองทุนสุขภาพ และเพื่อทำความเข้าใจปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดการอุดหนุนข้ ...
    • การใช้บริการสุขภาพช่องปากของกลุ่มวัยทำงานไทยปี 2556 

      สุณี วงศ์คงคาเทพ; Sunee Wongkongkathep (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือเพื่อศึกษาสถานการณ์การใช้บริการทันตกรรมของกลุ่มวัยทำงาน (กลุ่มอายุ 25-59 ปี) ในประเทศไทยปี 2556 โดยวิเคราะห์จากฐานข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการของสำนักงานสถิติแห่งชาติปี 2556 จำนวน 27,960 ...
    • การบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุน 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Puthasri; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; วลัยพร พัชรนฤมล; Waliporn Patcharanarumol; รายิน อโรร่า; Rajin Arora; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการโครงการผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบทและโครงการกระจายแพทย์หนึ่งอำเภอหนึ่งทุนโดยใช้การศึกษาเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการทบทวนเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์กลุ่มผู้มีส ...
    • พลังงานจาก 4 กลุ่มกิจกรรมทางกายที่คนไทยใช้ในแต่ละวัน 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Phonguttha; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpisarn; อรณา จันทราศิริ; Orana Chantrasiri; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamrungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกาย (Physical Activity) ในแต่ละวันของประชากรไทย ทั้งในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อย โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม (Domains) ได้แก่ กลุ่มกิจกรรมในการทำงาน ...
    • ผลการใช้โปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพต่อการลดน้ำหนักของเด็กมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 

      นิยม จันทร์แนม; สุกัญญา กุลแก้ว; พงค์เทพ สุธีรวุฒิ; Niyom Channaem; Sukanya kulkaew; Pongthep Sutheravut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      สถานการณ์เด็กอ้วนของอำเภอหาดใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนส่งผลกระทบมากขึ้นในอนาคต การป้องกันควบคุมโรคอ้วนด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่มีประสิทธิผลจะต้องจัดกระทำในหลายระดับและหลายองค์ประกอบ การวิจัยครั้งนี้เป็นก ...
    • ประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ของโรงพยาบาลรัฐ เขตสุขภาพที่ 3 

      ณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์; สุเทพ สินกิตติยานนท์; นฤมล ปาเฉย; อรพรรณ มันตะรักษ์; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การวิจัยเรื่อง ประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินของโรงพยาบาลรัฐ เขตสุขภาพที่ 3 เป็นข้อค้นพบที่สำคัญในระดับปฏิบัติการ เพื่อสะท้อนการพัฒนา EMS สู่การเปลี่ยนแปลงทั้งใน ระดับนโยบายและการขับเคลื่อนลงไปยังโรงพยาบา ...
    • การพัฒนาเครื่องมือประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ของผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง 

      ไพฑูรย์ สมุทร์สินธุ์; Paitoon Samuthrsindh; จุฬารัตน์ วิเรขะรัตน์; รสสุคนธ์ ชมชื่น; สมศรี กิตติพงศ์พิศาล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การวิจัยเรื่องการพัฒนาเครื่องมือประเมินความสามารถในทำหน้าที่ของผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง มีวัตถุประสงค์การวิจัย คือ พัฒนาแบบประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ของผู้ป่วยจิตเภท กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) ...
    • ถอดบทเรียนการพัฒนาระบบบริการแพทย์แผนไทยจังหวัดสุราษฎร์ธานี 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawats; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; สุธีรดา ฉิมน้อย; Sutheerada Chimnoi; ณัฐธิดา สุขเรืองรอง (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2555-01)
      ศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเป็นวิถีของการดูแลสุขภาพและการวินิจฉัยโรคที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมและประเพณีของไทยมาอย่างยาวนาน เนื่องจากมีการใช้สมุนไพรทั้งในรูปแบบของอาหารและยา เพื่อใช้ในการนวด การอบ การประคบ ...
    • คู่มือการดำเนินงานโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      คณะอนุกรรมการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2558)
      คู่มือการดำเนินการโครงการโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลฉบับนี้ จัดทำขึ้นตามกุญแจสำคัญ 6 ประการของการเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (PLEASE) โดยคณะทำงานและผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในแต่ละด้าน ...
    • คู่มือการควบคุมและป้องกันแบคทีเรียดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)
      มนุษย์มียาต้านจุลชีพขนานแรกๆ เมื่อประมาณ 70 ปีก่อน ในครั้งนั้น ยาต้านจุลชีพ ได้รับการขนานนามว่า “ยาปาฏิหาริย์” (miracle drug หรือ wonder drug) เนื่องจากยานี้ทำให้มนุษย์จำนวนมากรอดตายจากการติดเชื้อ องค์การวิชาชีพหลายแห่งเ ...
    • คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียด้วยยาปฏิชีวนะที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 

      Visanu Thamlikitkul; วิษณุ ธรรมลิขิตกุล (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-05)
      มนุษย์มียาต้านจุลชีพขนานแรกๆ เมื่อประมาณ 70 ปีก่อน ในครั้งนั้น ยาต้านจุลชีพ ได้รับการขนานนามว่า “ยาปาฏิหาริย์” (miracle drug หรือ wonder drug) เนื่องจากยานี้ทำให้มนุษย์จำนวนมากรอดตายจากการติดเชื้อ องค์การวิชาชีพหลายแห่งเ ...
    • รูปแบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : ในเขตบริการสุขภาพที่ 3 

      บงกฎ พัฒนา; มโน มณีฉาย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ในเขตบริการที่ 3 โดยมีกระบวนการดำเนินงานพัฒนา ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การดำเนินงานส่งเส ...
    • วิเคราะห์สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จในการแก้ไขปัญหางานอนามัยแม่และเด็ก ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 

      ศรีวิภา เลี้ยงพันธุ์สกุล; Srivipa Leangpunsakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-05-29)
      สถานการณ์อนามัยแม่และเด็ก 3 จังหวัดชายแดนใต้เข้าขั้นวิกฤติ อัตรามารดาตายสูงกว่าเป้าหมายระดับประเทศประมาณ 3 เท่า และสูงกว่าเป้าหมาย MDGs Plus เกือบ 2 เท่าตัว ผลการดำเนินงานต่ำกว่าเป้าหมายในเกือบทุกตัวชี้วัด สาเหตุการเสียช ...