แสดงรายการ 2101-2120 จาก 5778

    • นโยบายการเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ 

      สุธีร์ รัตนะมงคลกุล (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย การแพทย์ข้ามพร ...
    • ไฟใต้กับการริเริ่มสันติภาพแห่งเดือนรอมฎอน 2556 : ความรุนแรงที่ยืดเยื้อจะต้องถ่วงดุลด้วยพลังสันติภาพเท่านั้น 

      ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี; รอมฎอน ปันจอร์ (ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (DSW), 2556-08-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย สิทธิสุขภาพ: ...
    • Health at the Border : ASEAN and the Roles of Humanitarian Medicine 

      ซินเทีย หม่อง; Cynthia Maung (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) วันที่ 6-7 สิงหาคม พ.ศ. ...
    • แนวรบสุขภาพ : พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)
      วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อเป็นเวทีวิชาการสร้างความรู้ความเข้าใจด้านสังคมศาสตร์กับสุขภาพที่จัดต่อเนื่องประจำทุกปี และเป็นพื้นที่นำเสนอความรู้ด้านสังคมกับสุขภาพให้กับนักวิชาการ บุคลากรและนักศึกษา จากสหสาขาวิชาและหลากหลายกลุ่มวิชาชีพ ...
    • การศึกษาภูมิปัญญาสุขภาพ เรื่อง ความรู้ท้องถิ่นและวัฒนธรรมสุขภาพกับสังคมอาเซียน 

      เทพินทร์ พัชรานุรักษ์; Thapin Phatcharanuruk; ทวีศักดิ์ เผือกสม; Davisakd Puaksom; เสถียร ฉันทะ; Satian Chunta; บุษบงก์ วิเศษพลชัย; สุรสม กฤษณะจูฑะ; Surasom Krisnachuta; อรัญญา ศิริผล; Aranya Siriphon; ฆัสรา มุกดาวิจิตร; Bussabong Wisetpholchai; Khatsara Khamawan Mukdawichit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      โครงการนี้ริเริ่มขึ้นเพื่อจัดทำหนังสือเล่มหนึ่ง ที่เรียกว่า Introductory Book เป็นหนังสือเล่มแรกๆ ที่จะให้ความรู้ความเข้าใจอย่างที่ไม่สามารถหาอ่านได้จากเล่มอื่น เป็นเรื่องเกี่ยวกับสุขภาพและการแพทย์ในมิติทางสังคมวัฒนธรรม ...
    • การสำรวจสถานภาพความรู้ เรื่องเล่าเพื่อการเยียวยา 

      ศิริวรรณ ลาภสมบูรนานนท์; Siriwan lapsomburananon (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2557-01-31)
      หากคิดรวบยอดว่า กระบวนการรักษาคือการแปลความหมายของอาการเจ็บป่วยให้เข้าใจได้ ดังนี้แล้ว“เรื่องเล่า” จึงเกี่ยวข้องกับการแพทย์อย่างแยกจากกันไม่ได้ เพราะ “เรื่องเล่า” เป็นสื่อกลางในการทำความเข้าใจสาเหตุและอาการของความเจ็บป่ว ...
    • ผลกระทบและภาระการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้วัฒนธรรมไทย 

      ศิราณี ศรีหาภาค; Siranee Sihapark; โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup; คณิศร เต็งรัง; Kanisorn Tengrang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)
      รายงานผลการวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ภาระและผลกระทบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว และ บทบาทขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในสังคมไทย ...
    • การจัดการความรู้ภูมิปัญญาสุขภาพวิถีไทในระบบบริการปฐมภูมิและระบบสุขภาพชุมชน 

      อารีวรรณ ทับทอง; Areewan Tubtong; ปารณัฐ สุขสุทธิ์; Paranat Suksut; สุมนมาลย์ สิงหะ; Sumonmarn Singha (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2557)
      การจัดการความรู้ภูมิปัญญาสุขภาพวิถีไทในระบบบริการปฐมภูมิและระบบสุขภาพชุมชนมุ่งเน้นการถอดบทเรียนการดำเนินงานแพทย์แผนไทยเป็นรายกรณีศึกษาใน 5 จังหวัด คือ จังหวัดสุราษฏร์ธานี จังหวัดศรีษะเกษ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดกำแพงเพชร ...
    • ชีวการเมืองและเรือนร่างพิการ : ประวัติศาสตร์การสร้างพลเมืองที่กํ้ากึ่ง 

      ประชาธิป กะทา; Prachatip Kata (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2557-06-01)
      หนังสือเล่มนี้ จะเปิดเผยความไม่คงเส้นคงวาและการเปลี่ยนรูป (transformation) ของนโยบายของรัฐไทยที่มีต่อคนพิการภายใต้บริบทการเมืองและเศรษฐกิจในแต่ละยุค อิทธิพลอำนาจวาทกรรมขององค์กรระดับนานาชาติ และหลักการศีลธรรมเชิงสถาบัน ...
    • ภาพกับการศึกษาประวัติศาสตร์ 

      นภนาท อนุพงศ์พัฒน์; Nopphanat Anuphongphat (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2557-06)
      หากเราต้องการศึกษาประวัติศาสตร์สิ่งหนึ่งที่เราต้องมี คือ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ซึ่งมีอยู่มากมายหลากหลาย โดยทั่วไป นักประวัติศาสตร์มักจะใช้หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นหลักซึ่งได้แก่ เอกสารลายมือเขียนไปจนถึงสิ่งตีพิมพ์ต่างๆ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาระบบเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจราจร ด้วยมาตรการเชิงเทคโนโลยีสารสนเทศ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-03-11)
      เพื่อ สังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาระบบเพื่อป้องกันอุบัติเหตุจราจรโดยใช้มาตรการเชิงเทคโนโลยีสารสนเทศ รายงานนี้ ทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยและงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันอุบัติเหตุจราจรโดยใช้มาต ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 : วิกฤติ NCDs ภาระโรค วาระชาติ 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-02-28)
      เกาะติดไปกับกระแส “สุขภาพ” ของคนไทย ที่ต้องเผชิญกับภัยคุกคามสุขภาพ จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ภัยเงียบจากพฤติกรรมเสี่ยงจากการบริโภคและการดำรงงชีวิตในสังคมปัจจุบัน ที่คร่าชีวิตคนไทยในทุกช่วงอายุและเพศ นอกจากนี้ยังสะท้อนค่าใช ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 : ก้าวใหม่ สวรส. สู่ทศวรรษที่ 3 ระบบสุขภาพ 

      สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล; Somkiat Wattanasirichaigoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12-31)
      HSRI-FORUM ฉบับนี้ ถือเป็นวาระพิเศษที่ทาง สวรส. ได้ประมวลข้อมูล ยุทธศาสตร์การเดินทางขององค์กรอย่างคร่าวๆ ผลงานสำคัญ ตลอดจนผลลัพธ์รูปธรรมจากการดำเนินงาน มารวบรวมเรียบเรียงไว้เพื่อร่วมทบทวนก่อน สวรส. จะก้าวเดินในช่วงต่อไป ...
    • การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอกของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ : กรณีศึกษาของโรงพยาบาลสระบุรี 

      จิระวัฒน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์; นฎา วะสี; วรรณวิภางค์ มานะโชติพงษ์; Jirawat Panpiemras; Nada Wasi; Wanwiphang Manachotphong (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556-06-01)
      งานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์หลักสองประการ ประการแรกคือเพื่อทำความเข้าใจถึงสาเหตุของการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอกของระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการในโรงพยาบาลสระบุรี ในช่วงปี พ.ศ. 2547-2551 และประการที่สอ ...
    • การทบทวนสถานการณ์ระบบป้องกันควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; ชมพูนุท ไทยจินดา; จิราพร ขีดดี; ดารินทร์ อารีย์โชคชัย; วลัยพร พัชรนฤมล; ทักษพล ธรรมรังสี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-05-14)
      การทบทวนสถานการณ์ระบบป้องกันควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพตามธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2552 หมวดที่ 5 ฉบับนี้ได้ทำการรวบรวมสถานการณ์โรคและระบบควบคุมป้องกันโรคและปัจจัยคุกคามสุขภาพ มีข้อค้นพบ ดังนี้ ...
    • การรวบรวมองค์ความรู้และถอดบทเรียนรูปแบบการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับพื้นที่ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; พินทุสร เหมพิสุทธิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; อังสุมาลี ผลภาค; อาณัติ วรรณศรี; วรรณภา บำรุงเขต; Paiboon Suriyawongpaisarn; Samrit Srithamrongsawat; Pintusorn Hempisut; Boonyawee Aueasiriwon; Aungsumalee Pholpark; Arnat Wannasri; Wannapha Bamrungkhet (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-06-01)
      รายงานนี้มุ่งหมายรวบรวมองค์ความรู้และถอดบทเรียนการดำเนินงานการแพทย์ฉุกเฉินของกลไกหลักในพื้นที่ที่มีสมรรถนะการดำเนินงานที่ดี เพื่อพัฒนาข้อเสนอแนวทางการดำเนินงานของกลไกหลักในระดับจังหวัดและท้องถิ่น เพื่อเพิ่มสมรรถนะการดำเ ...
    • การศึกษาการบริหารจัดการ การดำเนินการของสถานพยาบาลภายใต้นโยบายการให้สิทธิ (คืนสิทธิ) ขั้นพื้นฐานด้านสาธารณสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 23 มีนาคม 2553 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; ธัญธิตา วิสัยจร; ปริญดา เสนีย์รัตนประยูร; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิชช์ เกษมทรัพย์; คนางค์ คันธมธุรพจน์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Rapeepong Suphanchaimat; Thunthita Wisaijohn; Parinda Seneerattanaprayul; Weerasak Putthasri; Vijj Kasemsup; Kanang Kantamaturapoj; Supon Limwattananonta (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-07-01)
      นโยบายระบบประกันสุขภาพผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ ได้รับการอนุมัติตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2553 มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้บุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิสามารถเข้าถึงระบบบริการสุขภาพที่จำเป็น และ (2) เพื่อแก้ปัญ ...
    • การประเมินสมรรถนะระบบหลักประกันสุขภาพในการให้บริการผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือด จากหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ 

      สิรินาฏ นิภาพร; จิราลักษณ์ นนทารักษ์; สมบัติ มุ่งทวีพงษา; ปิยะฉัตร สมทรง; Sirinard Nipaporn; Jiraluck Nontarak; Sombat Muengtaweepongsa; Piyachat Somsong (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-12-01)
      โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญโรคหนึ่งของประเทศไทย มีอัตราการเสียชีวิตเป็นลำดับที่ 3 ในปี 2550 และก่อให้เกิดความสูญเสียปีสุขภาวะ (Disability ADUSTED Life Year: DALYs) ที่สำคัญ และมีแนวโน้มการเ ...
    • การศึกษาการอุดหนุนข้ามระหว่างกองทุนสุขภาพในโรงพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรัฐในประเทศไทย 

      บวรศม ลีระพันธ์; ภัททา เกิดเรือง; อุทุมพร วงษ์ศิลป์; Borwornsom Leerapan; Phatta Kirdruang; Utoomporn Wongsin (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), 2556-09)
      การจัดการด้านการคลังสุขภาพเป็นหนึ่งในองค์ประกอบพื้นฐานสำคัญของระบบสุขภาพ โดยเฉพาะระบบสุขภาพของประเทศไทย ซึ่งมีการจัดการด้านการคลังสุขภาพผ่านกองทุนสุขภาพจำนวนหลายกองทุน ดังนั้น ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการของโรงพยาบาลต่อน ...
    • มาตรฐานและแนวทางการดำเนินการสำหรับการทบทวนพิจารณาจริยธรรมการวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556)
      เอกสารนี้จัดทำขึ้นสำหรับบุคคลและองค์กร ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์ ได้แก่ การศึกษาวิจัยทางชีวเวชศาสตร์, พฤติกรรมศาสตร์, สังคมศาสตร์ และการศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา เอกสารนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้คำแน ...