แสดงรายการ 3881-3900 จาก 5899

    • จดหมายเหตุการใช้สิทธิกับสิทธิบัตรยาของประเทศไทย 

      วิชัย โชควิวัฒน (แผนงานพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของไทย, 2551-03)
      นับตั้งแต่กระทรวงสาธารณสุขภายใต้การนำของ นายแพทย์มงคง ณ สงขลา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และทีมงาน ได้ตัดสินใจทางนโยบายที่สำคัญตั้งแต่เข้ารับตำแหน่งได้ไม่นานในการใช้สิทธิกับสิทธิบัตรยา เพื่อเปิดประตูให้สามารถจัดหายาท ...
    • การพัฒนากำลังคน ภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; ประพจน์ เภตรากาศ (สถาบันวิจัยสาธารณสุขไทยกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก, 2551-03)
      การพัฒนากำลังคนด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก การส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรจากรายการบัญชียาสมุนไพร พ.ศ.2549 เป็นประเด็นทางยุทธศาสตร์ในแผนยุทธ์ศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท พ.ศ.2550-2554 ...
    • หนึ่งโรคร้ายหลายร้อยผลกระทบ จับตายเบาหวานฆาตรกรเงียบ 

      นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; อรพินท์ มุกดาดิลก (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-09)
      หรรษาคดีเล่มนี้ เกิดขึ้นด้วยความมุ่งมั่นที่ว่าความจริงอันน่ากลัวของโรคเบาหวานโรคเรื้อรัง อันตรายที่กำลังขยายวงกว้างอย่างรวดเร็วโดยประชาชนส่วนใหญ่ไม่รู้ตัว จะถูกขุดคุ้ยมานำเสนอให้ผู้อ่านได้รับรู้ ซึ่งเป็นความจริงในมุมมองท ...
    • Health Systems Research Institute Thailand 2008-2010 

      Health Systems Research Institute (Health System Research Institute, 2008)
    • แผนยุทธศาสตร์สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ. 2551-2553 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
    • สุขภาพคนไทย 2551 

      ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา; ชาย โพธิสิตา; กฤตยา อาชวนิจกุล; อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์; กุลวีณ์ ศิริรัตน์มงคล; ปาณฉัตร เสียงดัง; สุภรต์ จรัสสิทธิ์; Churnrurtai Kanchanachitra; Chai Podhisita; Kritaya Archavanitkul; Umaporn Pattaravanich; Kullawee Siriratmongkon; Pannachat Seangdung; Suporn Jarassit (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2551)
      รายงานสุขภาพคนไทย 2551 หรือเป็นเล่มที่ 5 ที่ได้รายงานต่อสาธารณะ ในบทความเล่มนี้ได้พูดถึงภาวะโลกร้อนที่จะช่วยสร้างพลังผลักดันให้คนในสังคมไทยได้เกิดความตระหนักถึงปัญหา และการลงมือปฏิบัติอย่างจริงจังอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการหาคำตอบ ...
    • ความรุนแรงต่อผู้พิการ : สถานะความรู้และข้อเสนอโครงการวิจัย 

      เพ็ญจันทร์ ประดับมุข-เชอร์เรอร์ (แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย, 2549-03)
      ความรุนแรงเกิดได้กับคนทั่วไปทุกเพศ ทุกวัย ทุกกลุ่ม หากแต่ว่าด้วยโครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมทำให้คนกลุ่มหนึ่งมีแนวโน้มที่ตกเป็นเหยื่อของความรุนแรงมากกว่าคนอีกกลุ่มหนึ่ง บทความชิ้นนี้มุ่งทบทวนแนวคิด และสถานะองค์ความรู้ที่เกี ...
    • ข้อเสนอระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2548-12)
      เพื่อศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์และโอกาสพัฒนาในระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศอย่างรอบด้าน เพื่อจัดทำข้อเสนอทางวิชาการเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพของประเทศ ให้เป็นแนวทางเพื่อให้เกิดการผลักดันการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงหลักประกั ...
    • Introducing government use of patents on essential medicines in Thailand, 2006-2007 : Policy analysis with key lessons learned and recommendations 

      Sripen Tantivess; Nusaraporn Kessomboon; Chotiros Laongbua (International Health Policy Program, 2551-06)
      In late 2006 and early 2007, Thailand๛s administration announced its intention to introduce the government use of patents for 3 pharmaceutical products, including 2 antiretrovirals (ARVs): efavirenz and lopinavir/ritonavir ...
    • โครงการกำกับ ติดตาม และประเมินผลภายนอก ภายใต้โครงการเวทีสัญจรชวนทำหนังสั้นคนพิการ และการจัดประชุมสังเคราะห์บทเรียนเพื่อก้าวต่อไปอย่างมีทิศทาง 

      เกศินี จุฑาวิจิตร; บรรดล สุขปิติ; ณัชชา ศิรินธนาธร; ดวงดาว รุ่งเจริญเกียรติ; ธนปพน ภูสุวรรณ; เกตุจลินท์ วรรณทอง; พรประภา รัตนแดง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-07)
      เวทีสัญจรชวนทําหนังสั้น หัวข้อความพิการเป็นกิจกรรมหนึ่งของโครงการเวทีสัญจรชวนทําหนังสั้นคนพิการและการจัดประชุมสังเคราะห์บทเรียนเพื่อก้าวต่อไปอย่างมีทิศทาง ดําเนินงานโดยแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการร่วมกับบริษัท ไบโอสโคป ...
    • ผลการกำกับติดตามประเมินภายในโครงการเครือข่ายพัฒนาอาชีพอิสระของคนพิการ 

      ภัสสร ลิมานนท์; รุ่งรัตน์ โกวรรธนะกุล; อนุวัฒน์ วัชรประภา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      รายงานฉบับนี้เป็นผลจากการกํากับติดตามประเมินภายในโครงการเครือข่ายพัฒนาอาชีพอิสระของคนพิการ ที่ดําเนินการโดยวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการสนับสนุนด้านเงินทุนจากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย ...
    • พระพุทธศาสนากับการเสริมสร้างพลังในการดำรงชีวิตและทัศนคติที่เหมาะสมของคนพิการกรณีคนพิการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 

      ปาริชาด สุวรรณบุบผา; จตุพร ไชยทองศรี; ตรีนุช พลางกูร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-07)
      การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์คำสอน วิธีคิด และท่าทีแบบพุทธที่สนับสนุนศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ และการพัฒนาตนเองของคนพิการ เพื่อใช้พลังทางศาสนาในการเสริมสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องต่อตนเอง รวมทั้งศึกษาทัศนค ...
    • การบริหารจัดการกองทุนสุขภาพโดยชุมชน 

      วิชิต นันทสุวรรณ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2540-09)
      การจัดการกองทุนเพื่อสุขภาพของชุมชน คือ การจัดการเงินทุน ที่ดิน แรงงาน ผลผลิตและทรัพยากรธรรมชาติในระดับชุมชน เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพของตนเอง และการรักษาพยาบาล และการรักษาพยาบาลเมื่อเจ็บไข้ได้ป่วย หรือมีปัญหาสุขภาพ ...
    • ศักดิ์ศรีและความต้องการด้านศาสนาของคนพิการจากมุมมองคริสตศาสนาในสังคมไทย 

      เชิดชัย เลิศจิตรเลขา, บาทหลวง; สุภาพร ดาวดี, เซอร์; Crabtree, Katherine (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549-07)
      ผู้พิการเป็นกลุ่มบุคคลที่ประสบกับความยากลำบากในการดำรงชีวิตเนื่องจากพวกเขาไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้อย่างเต็มที่เหมือนคนปกติทั่วไป อย่างไรก็ตามยังมีผู้พิการอีกเป็นจำนวนมากที่สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างปกติสุข ในศาสนาคริส ...
    • กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ 

      ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การศึกษาเรื่อง “กลไกและกระบวนการจัดการเรื่องร้องเรียนและการช่วยเหลือเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยในระบบหลักประกันสุขภาพ” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไก กระบวนการร้องเรียน การช่วยเหลือเบื้องต้นประสิทธิภาพ ...
    • การคุ้มครองผู้บริโภคในระบบประกันสุขภาพที่เหมาะสม 

      ยุพา วงศ์ไชย; สุพร กระจ่างพืช; ศศิชา ว.บาลิการ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-09)
      การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพเป็นมาตรการหนึ่งในการสร้างความมั่นคงทางสังคมหลักใหญ่เป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้บริโภคฯ ประเทศไทยมีกฎหมายกําหนดสิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพหลายฉบับ รวมทั้งกําหนดกลไกให้ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน ...
    • การศึกษาและจัดทำข้อเสนอเพื่อพัฒนาระบบการซื้อบริการสุขภาพแนวดิ่ง ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์; อรอุมา ช่วยเรือง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-05)
      ที่ผ่านมา สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) มีระบบและกลไกของการซื้อบริการดูแลสุขภาพที่มีพัฒนาการไปอย่างต่อเนื่อง โดยมีการดำเนินการแยกตามประเภทของบริการไปซึ่งดำเนินการไม่เหมือนกัน วิธีการซื้อบริการแต่ละแบบที่สปสช. ...
    • หลักสูตรการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ กรณีเมืองและการขนส่ง 

      สำนักงานพัฒนากระบวนการเรียนรู้นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ปัญหาเรื่องเมืองและการขนส่ง ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับประชาชนจำนวนมาก ทั้งในเรื่องที่เกี่ยวกับไม่มีนโยบายการควบคุมรถยนต์ ไม่มีการวางผังเมือง สร้างก่อนแล้วจึงมาวางผังเมือง และถนน ส่งผลกระทบต่อการจราจร ความหนาแน่นและ ...
    • การมีส่วนร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ ประสบการณ์จาก 10 ประเทศ 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ค่าใช้จ่ายสุขภาพของประเทศที่เพิ่มขึ้น เกินกว่าอัตราที่งบประมาณที่มีอยู่จะเพียงพอให้การสนับสนุน ทำให้เริ่มเกิดคำถามเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมจ่ายค่าบริการสุขภาพ รายงานนี้เป็นการนำเสนอผลการสังเคราะห์ประสบการณ์ต่างประเทศ ...
    • การทบทวนสถานการณ์งานวิจัย ด้านการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ เขตภาคใต้ 

      รวมพร คงกำเนิด; Roumporn Konggumnerd (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-03)
      จากการทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวกับการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในภาคใต้ของประเทศไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 400 เรื่อง โดยจากการสืบค้นข้อมูลจากฐานข้อมูล Thai list ...