Now showing items 4281-4300 of 5900

    • เครื่องมือตรวจรับรองสถานพยาบาลประกันสังคม : คู่มือผู้ประเมิน 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; Anuwat Supachutikul; กิตติ พิทักษ์นิตินันท์; ชูชัย ศรชำนิ; เทียม อังสาชน; ธารารัตน์ ส่งสิทธิกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
    • ผลกระทบของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและการลดความยากจน 

      อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นการวัดผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการจัดให้มีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชน และการลดความยากจน โดยการศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความยากจน ได้ใช้วิธีวัดความยากจนของครัวเรือนไทยตา ...
    • ผลกระทบของนโยบาย 30 บาท ต่อระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช : ภาพรวมระดับประเทศและกรณีศึกษาสถานพยาบาลเฉพาะทางจิตเวชในภาคเหนือของประเทศไทย 

      บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขใหม่ โดยใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัวในผู้ป่วยนอก และจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของกลุ่มโรคร่วมสำหรับผู้ป่วยใน อาจมีจุดอ่อน ผู้ให้บริการมี/รับความเสี่ยง เลือกเฉพาะผู้ป่วยท ...
    • ฐานคติเรื่องเพศวิถีในนโยบายเรื่องโรคเอดส์ของรัฐไทย 

      ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์; Chalidaporn Songsamphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      แบบแผนการระบาดของโรคเอดส์ในประเทศไทยที่การแพร่กระจายของโรคเป็นไปโดยผ่านการร่วมเพศ/มีเพศสัมพันธ์ ทำให้แนวนโยบายเอดส์เกี่ยวข้องกับการจัดการเรื่องเพศของคนในสังคม ซึ่งมาตรการหลักที่กระทำอย่างต่อเนื่องเป็นเรื่องของการพยายามทำ ...
    • การศึกษามิติทางสุขภาพกับการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม 

      สมบัติ เหสกุล(แซ่แฮ่); Sombat Hesakul; ผการัตน์ เพ็งสวัสดิ์; อัครพงษ์ อั้นทอง; พัฒนา ราชวงศ์; กัมปะนาท ปิยะธำรงชัย; ขนิษฐา มาน้อย; ปรัชญา วงศ์ธนบัตร; พันธ์ณรงค์ จันทร์แสงศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษามิติทางสุขภาพกับการพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (small and medium scale industry: SMIs) มีวัตถุประสงค์การศึกษา 4 ประการ คือ 1. เพื่อทบทวนสถานการณ์และแนวโน้มการพัฒนา SMIs ของประเทศในด้านการผลิต การจ้างแรงงาน ...
    • การใช้สัญลักษณ์ทางกฎหมายเพื่อควบคุมการซื้อบุหรี่ของเด็กและเยาวชน 

      นิรุจน์ อุทธา; Niruj Utta; กนกวรรณ แก้วปา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Usage the law symbols for buying cigarette control in teenagersUsage the law symbols for buying cigarette control in teenagers: we conducted the Quasi-experimental research that controls the teenagers buying cigarette by ...
    • ต้นทุนรายโรคผู้ป่วยจิตเวชตามกลุ่มโรคร่วมของผู้ป่วยจิตเวชโรงพยาบาลสวนปรุง 

      บุปผวรรณ พัวพันธ์ประเสริฐ; Buppawan Phuaphanprasert; กิตติพงศ์ สานิชวรรณกุล; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Kitti Sanitwankul; Supasit Pannarunothai (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2546)
      จากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศไทยมีการจัดสรรงบประมาณสาธารณสุขใหม่ โดยใช้วิธีเหมาจ่ายรายหัวในผู้ป่วยนอก และจ่ายตามค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ของกลุ่มโรคร่วมสำหรับผู้ป่วยใน อนึ่งการจัดกลุ่มผู้ป่วยทางจิตเวชเพื่อจัดสรรทรัพยากร ...
    • สงสัยตายเพราะหมอ 

      อรสม สุทธิสาคร; Orasom Suthisakorn (สารคดี, 2549)
      สงสัยตายเพราะหมอ มิใช่หนังสือที่ต้องการกล่าวโทษหรือประณามคุณหมอ แต่มุ่งหวังอย่างจริงจังเพื่อให้เรื่องราวของความผิดพลาดทางการแพทย์นี้เป็นกรณีตัวอย่างเพื่อการศึกษา ด้วยความเชื่ออย่างบริสุทธิ์ใจ ว่าคงไม่มีหมอท่านใด ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...
    • พฤติกรรมการใช้สารเสพติดในนักเรียนมัธยม : กรณีศึกษาในโรงเรียนแห่งหนึ่ง จ.อุบลราชธานี 

      จิรวัฒน์ มูลศาสตร์; Jirawat Mulsat; อินทิรา เรืองสิทธิ์; รัชนี วีระสุขสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยนี้ เพื่อทราบพฤติกรรมการใช้สารเสพติดของนักเรียนมัธยม ในโรงเรียนมัธยมแห่งหนึ่งใน จ.อุบลราชธานี รวมทั้ง เหล้า, บุหรี่ โดยเน้นที่การใช้ยาบ้าหรือแอมเฟตามีน วิเคราะห์ถึงปัจจัยที่อาจส่งผลต่อพฤต ...
    • การคมนาคมและสื่อสารสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพในประเทศไทย 

      ประพันธ์ศักดิ์ บูรณะประภา; Prapansak Buranaprapa; ดนัย เรืองสอน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • การเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย : บทบาทของสถานเลี้ยงดูเด็ก 

      มาณี ไชยธีรานุวัฒศิริ; Manee Chiteeranuwatsiri (เสมาธรรม, 2543)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยโดยสถานเลี้ยงดูเด็ก ศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสถานเลี้ยงดูเด็กของประเทศไทย ศึกษาระบบ กลไก และประสิทธิภาพของสถานเลี้ยงดูเด็กของภาครัฐและเอกชนในปัจจุบัน ศึกษารูปแบบแ ...
    • สถานการณ์ของการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paiboon Suriyawongpaisarn; ซำแก้ว หวานวารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
      สถานการณ์ของการคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถนับตั้งแต่ พระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ มีผลบังคับ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2535 ยังไม่มีการประเมินอย่างเป็นระบบว่า เจตนารมย์ของกฏหมายนี้ได้รับการตอบสนองจากผู้เกี่ยวข้องเพียงใด ...
    • ปริทัศน์การวิเคราะห์ภาระจากโรคทั่วโลกเทียบกับภายในประเทศไทย 

      วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์; Virasakdi Chongsuvivatwong (หน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2541)
      The Global burden of disease This report consists of three parts. The first part summarizes the document prepared by Murray CJL & Lopez AD 1996. The second part links their findings with a report from Smutharaks et al. ...
    • การดำเนินงานสุขภาพวัยรุ่น : เอกสารทบทวนสถานการณ์ และข้อเสนอชุดโครงการวิจัย 

      ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์; Yongyud Wongpiromsan; กรรณิกา กออนันตกูล; เยาวนาฎ ผลิตนนท์เกียรติ; อมรากุล อินโอชานนท์; สมพร อินทร์แก้ว (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      เอกสารทบทวนสถานการณ์ การดำเนินงานด้านสุขภาพวัยรุ่นและข้อเสนอชุดโครงการวิจัยนี้ พัฒนาขึ้นโดยยึดกลุ่มเป้าหมายวัยรุ่นทั้งในและนอกระบบการศึกษาเป็นตัวตั้ง ครอบคลุมปัญหาพฤติกรรมสุขภาพสำคัญตามพัฒนาการ 7 ประการ คือ พฤติกรรมทางเพศ ...
    • การกระจายอํานาจด้านสาธารณสุข : ข้อเสนอสําหรับประเทศไทย 

      พีระ ตันติเศรณี; Peera Tantisaenee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขมิอาจมุ่งเฉพาะการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่นแต่เพียงอย่างเดียว จำเป็นต้องมีกระบวนการ ระบบ วิธีการเปลี่ยนแปลงที่เป็นการเพิ่มอำนาจให้ผู้ป่วย ประชาชน ชุมชน ประชาสังคมด้วย และคำนึงถึงประว ...
    • การประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูง (Excellence Center) ด้านการบาดเจ็บภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      แพร จิตตินันทน์; Phaer Chaitinum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ระบบบริการตติยภูมิอุบัติเหตุเป็นหนึ่งในสามระบบบริการตติยภูมิเกิดขึ้นในช่วงปี 2545 โดยแนวคิดในการพัฒนาระบบในระยะเริ่มต้นมีเป้าหมายให้สถานพยาบาลระดับ 1ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าเครือข่ายบริการดูแลแบบครบวงจรทั้งรักษาป้องกัน ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศไต้หวัน 

      วิชิต เปานิล; Wichit Paonil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ: กรณีศึกษาประเทศไต้หวันการศึกษานี้ทำขึ้นเพื่อนำเสนอพัฒนาการของระบบสุขภาพของไต้หวัน ทั้งในส่วนปัญหา และวิธีการแก้ไขโดยเฉพาะประเด็นการปฏิรูประบบสุขภาพ เพื่อใช้เป็นบทเรียนประกอบการพัฒนาระบบสุขภาพของไทย ...
    • ค่าใช้จ่ายและการใช้ยาของผู้ป่วยที่รับการรักษาจากโรงพยาบาล : ผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Suraphon Limwatananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Chulaporn Limwattananon; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การประเมินผลกระทบของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่อค่าใช้จ่ายและลักษณะการใช้ของ 9 กลุ่มยาในการวิจัยนี้ อาศัยการวิเคราะห์แบบทุติยภูมิสำหรับฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้านการสั่งใช้ยาแก่ผู้ป่วยนอกระหว่างปีงบประมาณ 2543-2545 ...
    • กระบวนการสื่อสารการรณรงค์ด้านสุขภาพ 

      วาสนา จันทร์สว่าง; Wasana Chansawang; นาตยา เกรียงชัยพฤกษ์; ยุทธพงษ์ ขวัญชื้น; วิทยา เทียนจวง; พงศ์พันธ์ อันตะริกานนท์; นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์; Nataya Khiangchiphuek; Yutapong Khanchuen; Witaya Thianchawng; Pongphan Antarikhanon; Nitan Sirichorat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสื่อสารการรณรงค์ขององค์กรภาครัฐ เอกชน ธุรกิจ และท้องถิ่นหรือชุมชน ผู้นำหรือผู้ปฏิบัติงานรณรงค์และกลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยเฉพาะเจาะจง โดยมีเกณฑ์ในการเลื ...