Now showing items 5081-5100 of 5899

    • ความเร็วเป็นปัญหาความปลอดภัยบนถนนจริงหรือ 

      ไพบูลย์ สุริยวงศ์ไพศาล (2539)
      ความเร็วรถมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความปลอดภัยบนท้องถนน ทุกประเทศจึงมีมาตรการจำกัดความเร็ว และมีวิธีบังคับใช้กฎหมายจำกัดความเร็วต่างๆ เช่น การใช้กำลังเจ้าหน้าที่ตรวจจับ เครื่องมืออัตโนมัติต่างๆ การออกแบบถนน การควบคุมกำลังเครื่องยนต์ ...
    • ไปดูเขาพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลในแคนาดา โดยกระบวนการ Accreditation 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2539)
      ความสำเร็จของกระบวนการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลในแคนาดา อยู่ที่ความตระหนักในคุณค่าของการประเมินตนเอง และการยืนยันผลการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกด้วยความสมัครใจ ทั้งขึ้นอยู่กับกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพจำนวนหนึ่งที่มาทำงานร่วม ...
    • Hospital Accreditation : สถานการณ์และแนวทางพัฒนาในประเทศไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (2539)
      ปัจจุบันหลายหน่วยงานตื่นตัวในการพัฒนาคุณภาพบริการทางการแพทย์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการสร้างหลักประกันให้ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพเป็นเรื่องจำเป็น ปัญหาก็คือระบบและวิธีการที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทยควรจะเป็นอย่างไร ...
    • แพทย์ในอนาคต 

      แพทย์นิรนาม (2539)
      แนวคิดและกระบวนการทำงานแบบ TQM เพื่อพัฒนาคุณภาพในระบบบริการสุขภาพ อาจจะยังเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลาสำหรับการเรียนรู้ ยอมรับทำความเข้าใจ และนำมาใช้ให้เกิดผลตามจุดมุ่งหมาย ประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้ที่บอกผ่าน "เรื่องเล่า" ...
    • คุณภาพบริการโรงพยาบาลในสายตาผู้ป่วย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; สุกัลยา คงสวัสดิ์ (2539)
      การสำรวจความพึงพอใจของผู้ป่วยเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลในการปรับปรุงคุณภาพบริการของโรงพยาบาล งานวิจัยนี้ได้ประเมินความคิดเห็นของผู้ป่วยต่อคุณภาพบริการทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของโรงพยาบาล 9 แห่งในกรุงเทพฯ ...
    • พฤติกรรมการเลือกสถานพยาบาลและการใช้บริการรักษาพยาบาลของผู้ประกันตนในโครงการประกันสังคม จังหวัดนนทบุรี 

      ปรียา ผาติชล (2540)
      พฤติกรรมการเลือกและใช้สถานพยาบาลของผู้ประกันตน มีแนวโน้มที่จะนิยมเลือกใช้โรงพยาบาลเอกชนมากขึ้น ผู้ประกันตนที่เป็นเพศหญิง อายุน้อย รายได้มากขึ้น และรู้เรื่องประกันสังคมมากขึ้นจะนิยมเปลี่ยนโรงพยาบาลมากขึ้น และสัดส่วนการใช้ ...
    • นานาทัศนะและประสบการณ์ บนเส้นทางคุณภาพ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2539)
      ทีมกองบรรณาธิการได้พบปะกับนักวิชาการและนักบริหารซึ่งพยายามแสวงหาวิธีการและทดลองแนวความคิดต่างๆ ว่าจะทำให้บริการสุขภาพที่ตนรับผิดชอบอยู่นั้นดีกว่าที่เป็นอยู่ได้อย่างไร ความหลากหลายของวิธีการคิดและการทำงานเป็นความงดงามที่ส ...
    • การสถาปนา TQM ในโรงพยาบาลรัฐ ตอน จุดเริ่มและภาพรวม 

      องอาจ วิพุธศิริ; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; มยุรี จิรวิศิษฎ์ (2539)
      การบริการโดยโรงพยาบาลรัฐ โดยภาพรวมมีความเพียงพอ แต่ปัญหาอยู่ที่คุณภาพและประสิทธิภาพของการให้บริการ เพื่อประยุกต์แนวคิดใหม่ของการบริหารจัดการในการพัฒนาคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขจึงได้ริเริ่มโครงการ ...
    • การขึ้นภาษีบุหรี่ มาตรการจำเป็นเพื่อป้องกันเด็กและเยาวชนมิให้ติดบุหรี่เพิ่มขึ้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (2537)
      การศึกษานี้เป็น Documentary's Study จัดทำขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2536 เพื่อใช้เป็นส่วนหนึ่งของเอกสารประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีเรื่องการขึ้นภาษีสรรพสามิตบุหรี่เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2536 ซึ่งผลการพิจารณาของ ครม. ...
    • เส้นทางสู่คุณภาพ 

      งามจิตต์ จันทรสาธิต (2539)
    • วิทยาการระบาดของอุบัติเหตุจราจรทางบก และการปฏิบัติในการลดอุบัติเหตุ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 

      สมชัย วิโรจน์แสงอรุณ (2539)
      อุบัติเหตุจราจรทางบกโดยเฉพาะจากรถจักรยานยนต์ เป็นปัญหาสำคัญของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาโดยมีสุราเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุ และยังพบว่าทั้งผู้ขับขี่และผู้ซ้อนรถจักรยานยนต์ร้อยละ 87 ไม่สวมหมวกนิรภัย ผลการศึกษาได้นำไป ...
    • การพัฒนาคุณภาพการรักษาผู้ป่วยไตวายในประเทศไทย 

      อุษณา ลุวีระ (2539)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบปัญหาในการดูแลรักษาผู้ป่วยไตวายในประเทศไทย เพื่อนำไปสู่ความร่วมมือในการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาและช่วยเหลือผู้ป่วยต่อไป
    • เทคโนโลยีการตรวจวินิจฉัยด้วยภาพในประเทศไทย: สถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหา และแนวทางแก้ไข 

      สมใจ หวังศุภชาติ (2539)
      ประเทศไทยมีสถิติการใช้เทคโนโลยีชั้นสูงในการตรวจวินิจฉัยด้วยภาพค่อนข้างมาก แต่ยังไม่มีการประเมินความเหมาะสมของข้อบ่งชี้ในการตรวจ ไม่มีการประเมินว่าเราใช้เทคโนโลยีในการวินิจฉัยเกินความจำเป็นหรือไม่ ทำให้รัฐหรือผู้ป่วยเสียค ...
    • การประเมินการใช้ยาในโรงพยาบาล 

      สุพรชัย กองพัฒนากูล (2539)
      ค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกิดกระบวนการติดตามประเมินความเหมาะสมของการใช้ยาในสถานพยาบาล โดยมีหลักการสำคัญคือ เปรียบเทียบการสั่งใช้ยาที่เกิดขึ้นจริง กับเกณฑ์การใช้ยาที่กำหนดไว้ โดยเป็นกระบวนการต่อเนื่อง ...
    • แนวคิดในการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย 

      รัชตะ รัชตะนาวิน (2539)
      เป้าหมายการลดอัตราคอพอกในเด็กนักเรียนให้เหลือไม่เกินร้อยละ 5 ภายในปลายปี 2539 ตามแผนการควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน อาจบรรลุผลได้ แต่การกำจัดโรคขาดสารไอโอดีนให้หมดจากประเทศไทย อาจจำเป็นต้องมีการปรับแนวคิดและนโยบายบางจุด ...
    • เทคโนโลยีทางการแพทย์และการสาธารณสุข: บทเรียนบางด้านจากต่างประเทศ 

      ปฐม สวรรค์ปัญญาเลิศ (2539)
      เทคโนโลยีทางการแพทย์และการสาธารณสุข จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นได้ ต้องเกิดจากการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้องและเหมาะสม การพิจารณาเกี่ยวกับเทคโนโลยีนั้นจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายอย่าง ตั้งแต่ความปลอดภัย ผลการทำงาน ต้นทุน ...
    • แนวทางการดูแลรับรองมาตรฐานโรงพยาบาลสำหรับผู้ประกันตนในโครงการประกันสังคม 

      สมเกียรติ ฉายะศรีวงศ์ (2540)
      การดูแลรับรองมาตรฐานโรงพยาบาล (Accreditation) สำหรับผู้ประกันตนในโครงการประกันสังคม เป็นเรื่องที่เป็นความหวังใหม่ของผู้ประกันตนและสำนักงานประกันสังคมที่จะให้โรงพยาบาลและคลินิกเครือข่ายที่สมัครขึ้นทะเบียนไว้กับสำนักงานประ ...
    • การบริหารจัดการเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุข 

      อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล (2539)
      การใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขอย่างเหมาะสม จำเป็นต้องตั้งคำถามว่า เทคโนโลยีที่จะใช้นั้นจะส่งผลกระทบอย่างไรต่อการดูแลผู้ป่วย ต่อผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยและสังคม ผลดีที่เพิ่มขึ้นนั้นคุ้มกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นหรือไม่ ...
    • การพัฒนาวิธีวินิจฉัยตามอาการและอุบัติการณ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ในอำเภอที่เลือกสรร จังหวัดขอนแก่น 

      อุทัย อุโฆษณาการ; ปราโมทย์ ทองกระจาย; จันทร์โท ศรีนา; เกรียงศักดิ์ กันต์พิทยา; คมกริช ทุ่งสะเดาทอง; สมพงษ์ จองชัย; สร้อย อนุสรณ์ธีระกุล; เอื้อมพร ทองกระจาย (2539)
      แนวคิดในการผนวกบริการทางด้านการรักษาและป้องกันโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ รวมทั้งโรคเอดส์เข้าไปในโครงการบริการสุขภาพอนามัยสำหรับสตรีที่มีอยู่แล้ว ถือเป็นข้อเสนอแนะที่มีความสำคัญและเป็นไปได้อย่างยิ่งในเชิงนโยบายจากองค์การอนามัยโลก ...