Now showing items 141-160 of 591

    • การพัฒนาสุขศาลาพระราชทานแบบมีส่วนร่วมบนฐานของชุมชนในพื้นที่กลุ่มชาติพันธุ์ลัวะ จังหวัดน่าน 

      นภดล สุดสม; Napadol Sudsom; ถนัด ใบยา; Thanat Baiya; วิชัย นิลคง; Wichai Nikong; ชัยวุฒิ วันควร; Chaiwut Wankhuan; ธนเสฏฐ์ สายยาโน; Tanasate Saiyano; พิษณุ อินปา; Phitsanu Inpa; กรภัทร ขันไชย; Khooraphat Kanchai; เพ็ญพักตร์ ภิรัญคำ; Penpuk Pirunkum; วิภาพร ทิพย์อำมาตย์; Wipaporn Thiparmart; กมลฉัตร จันทร์ดี; Kamonchat Chandee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      ในปีพุทธศักราช 2549 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำริให้จัดตั้งสุขศาลาพระราชทานในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) และพื้นที่ห่างไกลขึ้น ทรงมุ่งหวังว่านอกจากการเป็นที่พึ ...
    • การพัฒนาเครือข่ายทันตสาธารณสุขในกลุ่มคนพิการ เขต อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี พ.ศ. 2554 

      วิโรชา เพียรเจริญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554)
      โรงพยาบาลป่าบอนเป็นสถานพยาบาลของรัฐที่ตั้งขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2529 โดยมีพื้นที่ตั้งอยู่ในอำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บริการด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาเมื่อเกิดความเจ็บป่วย และการฟื้นฟูสมร ...
    • การพัฒนาเครือข่ายพยาบาล/ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ/ในการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดเชียงใหม่ 

      ศิริพร จิระศักดิ์; Siriporn Jirasak; สุมิตรา ปัญญาทิพย์; Sumitra Punyatip; เจษฎา ก้อนแก้ว; Jetsada Konkeaw; ลัดดา แสงหล้า; Ladda Sangla (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-07)
      บทนำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นสถานบริการปฐมภูมิที่สำคัญในชุมชน การมีระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อที่ได้มาตรฐานเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้คนในชุมชนมีสุขภาพดี ลดการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสง ...
    • การพัฒนาเครือข่ายระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับพลังชุมชน 

      ทัศนีย์ สุมามาลย์ (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2551-04-30)
      เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาและรูปแบบเครือข่ายระบบบริการสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับพลังชุมชน โดยการกระตุ้นเสริมพลังอำนาจชุมชนพร้อมกับพัฒนาเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพื่อความมุ่งหวังที่จะให้เกิดรูปแบบการทำงานสร้างเสริมสุขภาพโดยชุมชนเอ ...
    • การพัฒนาเครือข่ายสร้างเสริมพัฒนาการเด็ก โรงพยาบาลขอนแก่น 

      ภัทราภรณ์ กาบกลาง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554)
      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการคัดกรองพัฒนาการ และการดูแลแต่แรกเริ่มแก่เจ้าหน้าที่ในเครือข่าย อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น และจัดบริการเชิงรุกสู่ชุมชน ด้วยคาราวานสร้างเสริมพัฒนาการเคลื่อนที่
    • การพัฒนาเครือข่ายและรูปแบบค้นหาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการทางการได้ยินในชุมชนต่อเนื่องระยะยาว 

      ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; พนิดา ธนาวิรัตนานิจ; Panida Thanawirattananit; พรเทพ เกษมศิริ; Pornthep Kasemsiri; ภาธร ภิรมย์ไชย; Patorn Piromchai; ภีม เอี่ยมประไพ; Pheem Leomprapai; สาธิต ก้านทอง; Sathit Kanthong; ชฎาธาร เหลืองสว่าง; Chadarthan Luangsawang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ความพิการทางการได้ยินเป็นปัญหาที่มีพบบ่อยโดยเฉพาะในผู้สูงอายุ สำหรับประเทศไทยพบว่าสัดส่วนประชากรมีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นทุกปี ปัญหาการเข้าถึงบริการตรวจประเมินความพิการและฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำหรับผู้พิการทางการได้ยินนั ...
    • การพัฒนาเครื่องมือประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ของผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง 

      ไพฑูรย์ สมุทร์สินธุ์; Paitoon Samuthrsindh; จุฬารัตน์ วิเรขะรัตน์; รสสุคนธ์ ชมชื่น; สมศรี กิตติพงศ์พิศาล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      การวิจัยเรื่องการพัฒนาเครื่องมือประเมินความสามารถในทำหน้าที่ของผู้ป่วยจิตเภทเรื้อรัง มีวัตถุประสงค์การวิจัย คือ พัฒนาแบบประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ของผู้ป่วยจิตเภท กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) ...
    • การพัฒนาเครื่องมือสำรวจความพิการโดยใช้รหัส ICF กับกลุ่มความพิการด้านจิตและพฤติกรรม 

      ศิรินาถ ตงศิริ; นริสา วงศ์พนารักษ์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ(สสพ.), 2555-08)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเพื่อวัดสมรรถนะด้านจิตและพฤติกรรมของคนพิการ โดยใช้แนวความคิดและรหัส International Classification of Functioning, Disability and Health (ICF) หาค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือโดยก ...
    • การพัฒนาเครื่องมือเพื่อประเมินความเสี่ยงทางคลินิกของผู้ป่วยหนักด้วยกระบวนการเรียนรู้ด้วยเครื่อง โดยใช้ฐานข้อมูลผู้ป่วยหนักเพื่อการวิจัยของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 

      สิทธิโชค ไชยชูลี; Sitthichok Chaichulee; ธรรมสินธ์ อิงวิยะ; Thammasin Ingviya; รังสรรค์ ภูรยานนทชัย; Rungsun Bhurayanontachai; โอสรี อัครบวร; Osaree Akaraborworn; วีรพงศ์ วัฒนาวนิช; Veerapong Vattanavanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตัวในหอผู้ป่วยวิฤตมีความเสี่ยงต่อการเสื่อมสภาพทางคลินิก เช่น ภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะหัวใจขาดเลือด โดยส่วนใหญ่แพทย์และพยาบาลจะประเมินอาการของผู้ป่วยโดยใช้ข้อมูลทางคลินิก ข้อมูลทางพยาธิวิทยาร่วมกับทางสรีรวิทยา ...
    • การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อลดภาวะเครียดและวิตกกังวลจากผลกระทบ COVID-19 สำหรับประชาชน 

      เอื้อญาติ ชูชื่น; Uayart Chuchuen; ปวีณา นันทวิสิทธิ์; Pavena Nuntawisit; Pfaff, Glenn; นันทา ชัยพิชิตพันธ์; Nanta Chaipichitpan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การแพร่ระบาดครั้งใหญ่ เป็นสถานการณ์ฉุกเฉินทางสุขภาพในเดือนเมษายน ค.ศ. 2020 จากการแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 ทำให้ผู้ได้รับผลกระทบนี้ เกิดความเครียด ความวิตกกังวล ดังนั้น การดูแลตนเองเพื่อลดควา ...
    • การพัฒนาแนวทางการดำเนินงานบริการเภสัชกรรมทางไกล (Telepharmacy) ในประเทศไทย 

      จิราพร ลิ้มปานานนท์; Jiraporn Limpananont; วรวิทย์ กิตติวงศ์สุนทร; Worawit Kittiwongsunthorn; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; Rungpetch Sakulbumrungsil; วิไลลักษณ์ ตันตะโยธิน; Wilailuck Tuntayothin; กุลวดี ศรีพานิชกุลชัย; Kunwadee Sripanidkulchai; นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; มุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจ; Mukdavan Prakobvaitayakit; สิริลักษณ์ บัวเจริญ; Siriluk Buacharoen; อาทิตย์ สอดแสงอรุณงาม; Atit Sodsangaroonngam; ศิริรัตน์ ตันปิชาติ; Sirirat Tunpichart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09-30)
      ปัจจุบัน สภาเภสัชกรรมได้ออกประกาศ เรื่องการกำหนดมาตรฐานและขั้นตอนการให้บริการเภสัชกรรมทางไกล อย่างไรก็ตาม ในการดำเนินงานจำเป็นต้องมีรายละเอียดเพิ่มเติม เพื่อให้มีแนวทางการดำเนินงานเภสัชกรรมทางไกลที่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง ...
    • การพัฒนาแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับแพทย์และทีมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในเขต 7 ในรูปแบบเว็บแอพพลิเคชั่น 

      กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ; Kannikar Kongbunkiat; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; นรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์; Narongrit Kasemsap; นิศา วรสูต; Nisa Vorasoot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล โรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉียบพลันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ทีมสุขภาพจะใช้ข้อมูลจากแนวเวชปฏิบัติของประเทศในการดูแลผู้ป่วย ซึ่งแนวเวชปฏิบัติดั้งเดิมจะอยู่ในรูปแบบสิ่งพิมพ์หรือไฟล์ pdf ...
    • การพัฒนาแนวปฏิบัติในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ 

      มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สถาบันวิจัยระบบการดูแลผู้สูงอายุไทย คณะพยาบาลศาสตร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)
      เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อพัฒนาและประเมินผลแนวปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ที่อาศัยในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ โดยมีกระบวนการวิจัย 2 ระยะ คือ ระยะพัฒนาแนวปฏิบัติ และระยะประเมินผล ผู้เข้าร่วมการวิจัยมี 3 กลุ่ม ได้แก่ ...
    • การพัฒนาแบบจำลอง คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และการดำเนินการ สำหรับมาตรการค้นหาวัณโรคแฝงในผู้สัมผัสวัณโรค (ปีที่1) 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaykhetkaew; มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; Montarat Thavorncharoensap; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; พนิดา อยู่เพ็ชร; Panida Yupet; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satpretpry; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      วัณโรคเป็นโรคติดเชื้อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญต่อประชากรทั่วโลก ประเทศไทยถูกจัดเป็น 1 ใน 14 ประเทศที่มีปัญหาภาระวัณโรคสูง (high TB burden country) องค์การอนามัยโลกได้กำหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (End TB Strategy) ...
    • การพัฒนาแบบบันทึกข้อมูลทางการแพทย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบไฟเออร์ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลันชนิดขาดเลือด 

      นิศา วรสูต; Nisa Vorasoot; ธนภพ ณ นครพนม; Thanaphop Na Nakhonphanom; นรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์; Narongrit Kasemsap; กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ; Kannikar Kongbunkiat; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      การบันทึกข้อมูลสุขภาพในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์มีความสำคัญต่อการนำข้อมูลไปประมวลผลและแลกเปลี่ยนเพื่อประโยชน์ในการวินิจฉัย การดูแลรักษาต่อเนื่องและการวิจัย ซึ่งปัจจุบันการใช้ประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าวในประเทศไทยยังทำได้จำกัดเน ...
    • การพัฒนาและประเมินประสิทธิผลของระบบป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ 

      อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-04)
      การขาดยารักษาวัณโรค (Tuberculosis, TB) ส่งผลกระทบรุนแรงต่อผู้ป่วยวัณโรค ทำให้เชื้อวัณโรคดื้อยา การรักษายุ่งยากยิ่งขึ้น ค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการป้องกันการขาดยาของผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ ...
    • การพัฒนาและผลิตต้นแบบสติกเกอร์ใส (COVID GUARD) ทางการแพทย์ 

      ชญาณิศา ชิติโชติปัญญา; Chayanisa Chitichotpanya; มัณฑนา จริยาบูรณ์; Manthana Jariyaboon; พร้อมสิน มาศรีนวล; Promsin Masrinoul; จักรพันธ์ โคมัยกุล; Jukrapun Komaikul; พิศุทธิ์สรัล ชิติโชติปัญญา; Pisutsaran Chitichotpanya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      โครงการวิจัยนี้เป็นการต่อยอดนวัตกรรมเพื่อเป็นมาตรการเสริมที่มีประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาการระบาดของโรคโควิด-19 โดยสามารถป้องกัน ลดการแพร่กระจายและลดการระบาดของโรค ทำให้พื้นผิววัสดุและสิ่งแวดล้อมปราศจากการสะสมของเชื้อโรคโดย ...
    • การพัฒนาและผลิตต้นแบบเสื้อบุคลากรทางการแพทย์ที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ด้วยตนเอง แบบซักได้ 

      ชญาณิศา ชิติโชติปัญญา; Chayanisa Chitichotpanya; มัณฑนา จริยาบูรณ์; Manthana Jariyaboon; พร้อมสิน มาศรีนวล; Promsin Masrinoul; จักรพันธ์ โคมัยกุล; Jukrapun Komaikul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)
      โครงการวิจัยนี้เป็นการต่อยอดนวัตกรรมเพื่อเป็นทางเลือกใหม่ที่มีประสิทธิภาพ ในการแก้ปัญหาการระบาดของโรคโควิด–19 โดยนำนวัตกรรม Ag–TiO2/WPU Nanocomposite มาเคลือบลงบนผ้าทีซี เพื่อตัดเย็บเป็นเสื้อต้นแบบบุคลากรทางการแพทย์ ...
    • การพัฒนาและหาค่าเกณฑ์มาตรฐานเครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย 

      นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล; Nuanchan Chutabhakdikul; Panadda Thanasetkorn; Orapin Lertawasdatrakul; นุชนาฏ รักษี; Nootchanart Ruksee; ปนัดดา ธนเศรษฐกร; อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, ศูนย์วิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ สถาบันชีววิทยาศาสตร์โมเลกุล สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560-01)
      การคิดเชิงบริหาร (Executive Functions) คือการทำหน้าที่ระดับสูงของสมองที่ช่วยให้เรากำกับตนเองเพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่มุ่งสู่เป้าหมาย ทักษะการคิดเชิงบริหารพัฒนาอย่างมากในเด็กปฐมวัย เด็กที่มีการพัฒนาการคิดเชิงบริหารดีจะมีควา ...
    • การพัฒนาโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ 

      พรประภา แกล้วกล้า; เสาวลักษณ์ ปลั่งเกียรติยศ (กองพัฒนาการฟื้นฟูสมรรถภาพผ้ติดยาเสพติด กรมคุมประพฤติ, 2552-05)
      การศึกษาเพื่อพัฒนาโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาโปรแกรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ และจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกรณีพิเศษ ...